กลับไป
   
ข้อมูลส่วนตัว
ชื่อ - สกุล :  นางสาวธิติยา หงษ์เวียงจันทร์
ประเภทบุคลากร :  พนักงานมหาวิทยาลัย
สังกัด/หน่วยงาน :  กลุ่มงานทะเบียนและประมวลผล สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
ตำแหน่งงาน :  เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป
สถานะ :  ทำงานปกติ

  ประวัติการบริหาร  
ไม่มีข้อมูล
     
  ประวัติการศึกษา  
ระดับปีที่สำเร็จวุฒิการศึกษาหลักสูตรสาขาวิชาสถาบันประเทศ
ปริญญาตรี2542วท.บ.วท.บ. (เทคโนโลยีการผลิตสัตว์)ครุศาสตร์เกษตรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีThailand
   
ผลงานทางวิชาการ

ไม่พบข้อมูลผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง


ผลงานวิจัยเชิงโครงการ

รหัสโครงการชื่อโครงการวิจัยบทบาทหน้าที่
R000000602 แนวโน้มและความต้องการในการเลือกสาขาวิชาของนักเรียน เพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ หัวหน้าโครงการวิจัย
R000000601 การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจของผู้บริหารเกี่ยวกับภาระงานสอนของอาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ระหว่างปีการศึกษา 2563-2567 ผู้ร่วมวิจัย
R000000569 ปัจจัยที่มีผลต่อการออกกลางคันของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ หัวหน้าโครงการวิจัย

     
  รายงานการฝึกอบรม/ดูงาน  
หัวข้อปัญหา/อุปสรรคสรุปผลไฟล์แนบผลที่ได้รับข้อเสนอแนะวันที่รายงาน
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลกับผลกระทบต่อการบริหารจัดการและการจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัย      
โครงการค่ายฝึกอบรมการทำวิจัยและผลงานทางวิชาการ ครั้งที่ 9 หัวข้อ "เทคนิคการทำวิจัยจากงานประจำ การทำงานวิเคราะห์ การเขียนคู่มือการปฏิบัติงาน"   trainreport_000744_13.pdf มีความรู้ เข้าใจ ในการสร้างผลงานทางวิชาการได้อย่างมีคุณภาพและถูกต้องตาม หลักวิชาการ และได้มีโอกาสในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการทําวิจัยจากงานประจําและผลิตผลงานทางวิชาการร่วมกันรวม ทั้งได้ทราบแนวทางในการพัฒนางานของตนเองและองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีผลงานที่จะสามารถเข้าสู่ตําแหน่งทางวิชาการได้ 28/12/2564
กลยุทธ์สร้างพลังสื่อสารภาครัฐในยุคดิจิทัล การสื่อสารในยุคดิจิทัล หัวข้อที่ 1: บริบทสำคัญของการสื่อสารในยุคดิจิทัล - ภูมิทัศน์ของสื่อที่เปลี่ยนไป - ภูมิทัศน์ของสังคมและกลุ่มเป้าหมายที่เปลี่ยนไป หัวข้อที่ 2: พฤติกรรมการสื่อสารของผู้บริโภคแบบใหม่ที่ต้องรู้ - พฤติกรรมการรับข้อมูลข่าวสาร - พฤติกรรมการผลิตข้อมูลข่าวสาร หัวข้อที่ 3: ลักษณะสำคัญของสื่อดิจิทัล - เทคโนโลยีของสื่อใหม่่่ - รูปแบบการสื่อสารที่เปลี่ยนไปในสื่อแบบต่าง ๆ - พฤติกรรมเฉพาะสื่อ หัวข้อที่ 4: สื่อดิจิทัลแบบต่าง ๆ ที่มีอิทธิพลในปัจจุบัน - การรู้เท่าทันสื่อดิจิทัล การวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสาร ข่าวลวง Fake News ต่าง ๆ - กฎหมายสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสาร การใช้งานดิจิทัล สื่อและประชาสัมพันธ์ หัวข้อที่ 1: พื้นฐานการสื่อสารสำคัญที่จำเป็น - Mindset ที่จำเเป็นสำหรับผู้บริหารในการบริหารการสื่อสารในปัจจุบัน - องค์ความรู้สำหรับการกำหนดและวางแนวทางการสื่อสารดิจิทัล Workshop การกำหนดทิศทางของการสื่อสารสำหรับองค์กร หัวข้อที่ 2: การประชาสัมพันธ์ในยุคดิจิทัล กรณีศึกษาขององค์กรและหน่วยงานภาครัฐ - การสื่อสารและการประชาสัมพันธ์แบบ Active - การสื่อสารและการประชาสัมพันธ์แบบ Passtive หัวข้อที่ 3: กลยุทธ์การสื่อสารและประชาสัมพันธ์แบบต่าง ๆ ในสื่อดิจิทัล - รูปแบบการสื่อสารและประชาสัมพันธ์แบบ Paid Media - รูปแบบการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ผ่าน Owned Media - รูปแบบการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ผ่าน Earned Media - การสื่อสารแบบบูรณาการ หัวข้อที่ 4: การสื่อสารในภาวะวิกฤติในยุคดิจิทัล - บริบทของ "วิกฤต" ในยุคดิจิทัล - หลักการสำคัญในการรับมือกับวิกฤตในยุคดิจิทัล Workshop การออกแบบการสื่อสารในยามวิกฤต การทำแผนกลยุทธ์และการบริหารข้อมูลข่าวสารยุคดิจิทัล หัวข้อที่ 1: โครงสร้างและเนื้อหาสำคัญของแผนกลยุทธ์บริหารจัดการการสื่อสาร - การระบุปัญหาจากสถานการณ์ - กลุ่มเป้าหมายสำคัญ - เป้าหมายสำคัญในการสื่อสาร - รูปแบบการสื่อสาร หัวข้อที่ 2: Workshop การเข้าใจปัญหาและสถานการณ์ขององค์กร - การวิเคราะห์โจทย์ปัญหาขององค์กร - วิธีการคิดเชิงสร้างสรรค์เพื่อระบุปัญหาสำคัญอย่างมีประสิทธิภาพ หัวข้อที่ 3: Workshop การกำหนดกลุ่มเป้าหมายเชิงยุทธ์ศาสตร์และแนวทางของสารสำคัญ - การกำหนดเป้าหมายเชิงยุทธ์ศาสตร์ - การกำหนดกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการสื่อสาร - การออกแบบสื่อและข 1. รับรู้ เข้าใจ การเปลี่ยนแปลงของสื่อ พฤติกรรมการรับสื่อในยุคดิจิทัล ติดตาม วิเคราะห์ การนำเสนอข้อมูลข่าวสารอย่างรู้เท่าทันสื่อ รวมถึงกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และนำมาปรับใช้ในงานบริหารจัดการข้อมูลข่าวสาร และงานประชาสัมพันธ์ให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายประชาชนในยุคดิจิทัล 2. รับรู้ เข้าใจ หลักการพื้นฐานของการสื่อสารและการประชาสัมพันธ์ในยุคดิจิทัลที่สามารถใช้เป็นแนวทางในการบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารขององค์กร 3. รับรู้ เข้าใจ และมีทักษะในการสร้างแผนกลยุทธ์ แผนบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ขององค์กร 31/10/2564
การจัดทำผลงานเชิงวิเคราะห์หรือสังเคราะห์จากงานประจำเพื่อประกอบการประเมินเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้นของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการสังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์      
สัมมนาเครือข่ายระบบทะเบียนและประมวลผลการศึกษาทั่วประเทศ ครั้งที่ 10 1. บรรยายพิเศษโดยวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ ดังนี้ - รู้ให้เท่า ก้าวให้ทันในยุค Digital Disruption โดย รองศาตราจารย์ ดร.นิรันดร มาแทน อาจารย์ประจําสํานักวิชาวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี - การบริหารการศึกษายุคใหม่ โดย ศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ ธํารงธัญวงศ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ - Digital Disruption : โอกาสและความท้าทายสําหรับงานบริการการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาไทย โดย คุณชัชวาล สังคีตตระการ ผู้ช่วยวิจัยอาวุโส ทีมวิจัยการเข้าใจเสียงและข้อความกลุ่มวิจัย ปัญญาประดิษฐ ์ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ - เตรียมความพร้อมสําหรับงานบริการการศึกษาเพื่อร่วมสร้างบัณฑิตพันธุ์ใหม่ โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิศปัตย์ ชัยช่วย อาจารย์ประจํามหาวิทยาลัยขอนแก่น ผู้เชี่ยวชาญด้านการสร้างหลักสูตรบัณฑิตพันธุ์ใหม่ 2. ประชุมกลุ่มย่อยเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่อง การให้บริการและพัฒนานวัตกรรมเพื่อรองรับสนับสนุนการเรียนการสอน ตามภารกิจต่าง ๆ ดังนี้ - ภารกิจด้านการบริหารทางการศึกษา - ภารกิจด้านการรับนักศึกษา - ภารกิจด้านงานทะเบียนและประมวลผลการศึกษา - ภารกิจด้านการจัดตารางเรียนและตารางสอน - ภารกิจด้านมาตรฐานหลักสูตรและการประกันคุณภาพการศึกษา - ภารกิจด้านการวิเคราะห์ระบบ และนวัตกรรมสนับสนุนการเรียนการสอนและการบริการ 1. นำองค์ความรู้และแนวทางการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์และเทคนิคต่าง ๆ ในการทำงานเกี่ยวกับการจัดการงานทะเบียนและประมวลผลการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศ มาปรับใช้กับงานในหน้าที่ที่ปฏิบัติในมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ 2. เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานด้านบริการการศึกษา ทะเบียนเรียนและประมวลผลการศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ให้เป็นไปอย่างมีมาตรฐาน 3. เพิ่มเครือข่ายสมาชิก และก่อให้เกิดความร่วมมือกันระหว่างหน่วยงานและผู้ปฏิบัติงานด้านทะเบียนและประมวลผลการศึกษาในระดับอุดมศึกษาทั่วประเทศ กับ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ 4. เป็นช่องทางการประชาสัมพันธ์มหาวิทยาลัยและระบบการให้บริการการศึกษาที่ได้มาตรฐาน ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ให้เป็นที่รู้จักไปทั่วประเทศ และกลุ่มเครือข่ายมหาวิทยาลัยของรัฐและเอกชนที่เข้าร่วมโครงการสัมมนา  
พัฒนาหัวหน้างาน (หลักสูตรผู้บริหารระดับต้น) 1. หลักการบริหารเบื้องต้น หน้าที่ ภาระงานที่รับผิดชอบ บทบาท ของหัวหน้างาน (ผู้บริหารระดับต้น) การเรียนรู้และการปฏิบัติงานตามสายงานบังคับบัญชา 2. ความสามารถในการบริหารไปสู่เป้าหมาย/การบริหารคน/การบริหารเวลา ความสามารถในการ ปฏิรูปตนเอง และการสร้างความน่าเชื่อถือ/หัวหน้างานที่พึงประสงค์ 3. การจัดการภาระงานและความสามารถในการตัดสินใจแก้ไขปัญหา 4. ทิศทางและนโยบายในการบริหารมหาวิทยาลัย 5. ธรรมาภิบาลและกฎหมายการปกครองที่ควรรู้ 6. การบริหารการเปลี่ยนแปลงด้านบริหารทรัพยากรมนุษย์ในการบริหารมหาวิทยาลัย 7. การถ่ายทอดแผนไปสู่การปฏิบัติและการปรับปรุงระบบงาน/การควบคุมงาน/การติดตามงาน/การประเมินผลการทำงาน 8. การสร้าง Teamwork/การสร้างความสุขในการทำงานและความสามารถในการจูงใจและพัฒนาทีมงาน รวมถึงความสามารถในการจัดการความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์ 9. การเสริมสร้างประสบการณ์/รายงานผล (ศึกษาดูงาน) 1. ต่อตนเอง ได้แก่ ได้รับความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะใหม่ที่จะนำมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ เพื่อพัฒนางานที่เกี่ยวกับตำแหน่ง รวมทั้งสามารถเลือกเครื่องมือในการพัฒนาตนเองที่เหมาะสมเพื่อให้เกิดประโยชน์กับงานต่อไป ตลอดจนสามารถพัฒนาบุคลิกภาพของตนเองให้เหมาะสมกับงาน และตำแหน่งหน้าที่ 2.ต่อหน่วยงาน ได้แก่ สามารถนำความรู้ที่ได้รับมาพัฒนาและปรับปรุงการปฏิบัติงานด้านการบริหารองค์กรของหน่วยงานเพื่อให้เกิดประโยชน์ และเกิดประสิทธิภาพต่อหน่วยงาน ตามที่หน่วยงานได้คาดหวัง 06/09/2562
การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศจากฐานข้อมูลออนไลน์ EBSCO      
การวิเคราะห์ข้อมูลและการวิจัยด้วยโปรแกรม SPSS      
การพัฒนาบุคลากรภายในมหาวิทยาลัยฯ เพื่อการใช้งานซอฟท์แวร์สำหรับการปฏิบัติงาน 1. การใช้งาน G Suite เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้แก่องค์กร - การใช้งาน Gmail Google Calendar 2. การใช้ Clound Storage แชร์ไฟล์และโฟลเดอร์ - Google drive และ One Drive 3. การสร้างแบบสอบถามอิเล็กทรอนิกส์ด้วย Google Form - การประมวลผลข้อมูลจากแบบสอบถามด้วย Google Sheets - การส่งออกข้อมูล Google Form (Export) เพื่อนำไปประยุกต์ใช้งาน 4. การใช้งาน Google Sheet - วิธีการพิมพ์หรือใช้สูตรคำนวณ - จัดการฟังก์ชั่นการอ้างอิงข้อมูล และดึงข้อมูลจากตารางด้วย VLOOKUP - การใช้ฟังก์ชั่น SUMIF เพื่อหาผลรวมตามเงื่อนไข - การใช้ฟังก์ชั่น SUBTOTAL 5. การใช้งาน Google Doc และ Google Slide 6. การสร้างเว็บไซต์ง่าย ๆ ด้วย Google sites - การปรับแต่ง ธีม สี และการเพิ่มเมนูเว็บไซต์ - การจัดการหน้าเพจ - การเพิ่มลิงก์ และหน้าเพจ - การสร้างงานนำเสนอ และสเปรดชีด - การสร้างแผนที่ และการตั้งค่าการแสดงผลแผนที่ - การสร้างปฏิทิน - การสร้างข้อสอบ และแบบสอบถามในหน้าเว็บไซต์    
การพัฒนาพลังจิตเพื่อพัฒนากระบวนการทำงาน (พัฒนาจิต พัฒนางาน)      
การพัฒนากระบวนการปฏิบัติงานประจำสู่งานวิจัย      
การใช้ระบบสารสนเทศด้านงานวิจัยเพื่อเสนอขอทุนวิจัยและบริหารจัดการฐานข้อมูลงานวิจัยของหน่วยงาน      
การทำวิจัยและผลงานทางวิชาการสำหรับบุคลากรสายสนับสนุนในสถาบันอุดมศึกษา ครั้งที่ 6   trainreport_000744_2.pdf 1. ได้วิธีและเทคนิคการทำวิจัย 2. ได้แนวคิดในการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยR2R  
การพัฒนาศักยภาพการทำงานของตนเองและการทำงานเป็นทีม