กลับไป
   
ข้อมูลส่วนตัว
ชื่อ - สกุล :  นางกาญจนา สดับธรรม
ประเภทบุคลากร :  พนักงานมหาวิทยาลัย
สังกัด/หน่วยงาน :  สาขาวิชาการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
ตำแหน่งงาน :  ผู้ช่วยศาสตราจารย์
สถานะ :  ทำงานปกติ

  ประวัติการบริหาร  
ไม่มีข้อมูล
     
  ประวัติการศึกษา  
ระดับปีที่สำเร็จวุฒิการศึกษาหลักสูตรสาขาวิชาสถาบันประเทศ
ปริญญาโท2542บริหารธุรกิจมหาบัณฑิตบริหารธุรกิจBusiness AdministrationมหาวิทยาลัยรามคำแหงThailand
ปริญญาตรี2534ศิลปศาสตรบัณฑิตการจัดการทั่วไปBusiness Administrationวิทยาลัยครูเทพสตรี จังหวัดลพบุรีThailand
อนุปริญญา2528ประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูงนาฏศิลป์นาฏศิลป์วิทยาลัยครูเทพสตรี จังหวัดลพบุรีThailand
   
ผลงานทางวิชาการ

ไม่พบข้อมูลผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง


ผลงานวิจัยเชิงโครงการ

รหัสโครงการชื่อโครงการวิจัยบทบาทหน้าที่
R000000431 การศึกษาและพัฒนารูปแบบผู้นำมุ่งความสำเร็จของงานสำหรับกลุ่มอาสาสมัครท้องถิ่นโดยการประยุกต์ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ในการประสานงานระหว่างบุคคลและกลุ่ม ผู้ร่วมวิจัย
R000000193 การพัฒนาขีดความสามารถของชุมชนในการปรับตัวและรับมือกับการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมเพื่อรองรับโครงการการบริหารจัดการน้ำของภาครัฐ อำเภอแม่วงก์ จังหวัดนครสวรรค์ ผู้ร่วมวิจัย

     
  รายงานการฝึกอบรม/ดูงาน  
หัวข้อปัญหา/อุปสรรคสรุปผลไฟล์แนบผลที่ได้รับข้อเสนอแนะวันที่รายงาน
เครือข่ายห้องสมุดแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 4      
การวินิจฉัยผู้ประกอบการ BCU      
อบรมผู้นำสตรี จังหวัดอุทัยธานี      
พัฒนาผู้นำสตรี จ.อุทัยธานี      
การทบทวนแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2559 สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ      
ประชุมเครือข่ายการประกันคุณภาพ กลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ 8 แห่ง      
การศึกษาไทยเพื่ออนาคตการเตรียมตัวของการศึกษาไทยในระดับมัธยมศึกษา การจัดการศึกษาต้องอาศัยเครื่องมือที่หลากหลาย เวลาในการประชุมรับความรู้กลุ่มย่อย มีเวลาน้อยความรู้เพิ่มเติมที่ควรเตรียมความพร้อมเครื่องมือด้าน IT เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนในยุค ดิจิทัล โลกเราในปัจจุบันนี้มีการเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วไม่ว่าจะเป็นในเรื่องด้านการศึกษา เศรษฐกิจ และสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องของเทคโนโลยีสารสนเทศ จะสังเกตได้ชัดเจนว่าเทคโนโลยีต่าง ๆ นั้นได้มีการพัฒนาอย่างล้ำสมัยซึ่งส่งผลให้เกิดความสะดวกต่อการใช้งานในปัจจุบันและในอนาคต Smart Education คือ ระบบการศึกษาที่มีการบริหารจัดการที่ดูดีทันสมัย โก้เก๋ เฉลียวฉลาด โดยใช้ระบบไอซีทีเป็นเครื่องมือในการจัดการศึกษาและจัดการเรียนการสอนที่มีคุณภาพ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจอย่างกว้างขวางอันจะก่อให้เกิดการคิดวิเคราะห์เป็น และพัฒนาความรู้ความสามารถให้ต่อยอดขยายวงสิ่งที่เป็นประโยชน์ไปยังผู้อื่นได้อย่างสะดวกสบาย รวดเร็วและง่ายดาย เทคโนโลยีและสื่อที่ใช้ในการดังกล่าว จะมีวิธีการและรูปแบบต่าง ๆ เช่น การใช้แท็บเล็ต (Tablet) สมาร์ทโฟน (Smart Phone) การใช้คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก (Notebook) สำหรับการเรียน ซึ่งในปัจจุบันความรู้กลายเป็นสิ่งที่สามารถเรียนฟรีและหาได้ตลอดเวลาทั่วโลก รวมทั้งในด้านของพฤติกรรมของผู้เรียนที่เปลี่ยนไป มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) เล็งเห็นความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศในการสร้างเยาวชนยุคใหม่ที่มีความเข้มแข็งทางปัญญา มีความสนใจใฝ่รู้ และมีทักษะการแสวงหาความรู้และแก้ปัญหาด้วยตนเอง ผ่านกระบวนทัศน์ใหม่ทางการศึกษาในศตวรรษที่ 21 จึงได้จัดงานการประชุมสัมมนาทางวิชาการและประชุมเชิงปฏิบัติการ “การศึกษาไทยเพื่ออนาคต (Conference for Thailand Education Future (CTEF))” ในหัวข้อ Smart Education for 21st Century Learning มีแนวคิดมุมมองการพัฒนาเครื่องมือ สื่อสารสนเทศ ที่ช่วยให้การศึกษาแบบไร้พรหมแดน ไม่มีขีดจำกัด หน่วยงานที่ให้การสนับด้านเทคโนโลยีพยายามสร้างเครือข่ายที่เข้มแข็ง มีการแยกกลุ่มย่อยในการรับรู้ข้อมูลต่างๆควรเพิ่มเติมเนื้อหาที่มีความเกี่ยวข้องของระดับอุดมศึกษา24/07/2558
มา Read and Learn เพื่อสร้าง Happy Workplace กันดีกว่าการอบรมใช้เวลาเพียง 1 วัน ซึ่งน้อยไป หากมีเวลามากกว่านี้ จะดีมากนิยาม "ความสุข" ของคนทำงาน คือ "ความพอใจ" ไม่ใช่ "เงินเดือน" "ถ้าที่ทำงานใดมีความสมานฉันท์ คน ก็จะมีความสุข แล้วที่ทำงานก็จะน่าอยู่ ถ้าที่ทำงานน่าอยู่ คนทำงานก็จะมีความสุข ที่ทำงานน่าอยู่ไม่ได้หมายถึงที่ทำงานต้องมีขนาดใหญ่โต แต่หมายถึงสถานที่ ที่พนักงานทุกระดับ ทุกคนอยู่แล้วสบายใจ" จากแนวความคิดที่ว่า "คน" คือสิ่งสำคัญที่สุดขององค์กร หาก "คน" กลายเป็น "คนทำงานที่มีความสุข" การทำงานก็จะมีประสิทธิภาพ องค์กรก็จะเติบโตอย่างยั่งยืน วิถีทางที่จะมุ่งสร้างคนในองค์กรให้เป็นคนที่มีความสุข หรือ เครื่องมือเบื้องต้นในการสร้าง Happy Workplace ที่แต่ละองค์กรสามารถนำไปใช้ได้ เรียกว่า Happy 8 หรือ "กล่องความสุข 8 ใบ" หรือความสุข 8 ประการในที่ทำงาน ความสุขทั้งแปดนี้จะนำไปสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ดีอย่างยั่งยืน ได้รับฟังบรรยายความรู้ "การสร้างความสุขในที่ทำงาน" (Happy Workplace) จากวิทยากร รศ.ดร.วิชัย อุตสาหกิจ โดยการเรียนรู้กระบวนการสร้างความสุขในองค์กร จากกรณีศึกษาโครงการ "ถอดรหัส 102 องค์กรหลากสุข" ซึ่งเป็นสิ่งที่ทุกองค์กรอยากให้เกิดขึ้นจริง โมเดลกุญแจความสุขที่จะช่วยให้บุคลากรมีทัศนคติที่ดีต่อตัวเองและสิ่งต่างๆ รอบตัว มีทั้งสิ้น 7 รหัส ได้แก่ พื้นฐานความคิด ความเชื่อ ทัศนคติ ปัญญา การฝึกฝน ลักษณะงาน หัวหน้า เพื่อนร่วมงาน ลูกค้า วัฒนธรรมองค์กร บรรยากาศในที่ทำงาน และรูปแบบการใช้ชีวิต ได้ร่วมกิจกรรมในการแลกเปลี่ยนความรู้กับผู้เข้าร่วมประชุม ในการสร้างโมเดลความสุข ไขรหัสความสุขด้วยตนเอง และเรียนรู้แนวทางการสร้างองค์กรแห่งความสุข (HOME MODEL) การจัดการความสุขให้เกิดขึ้นในที่ทำงาน วิธีการสร้างความสุขในที่ทำงาน ไม่ได้มีเพียงวิธีเดียวที่จะตอบโจทย์ของการสร้างสุขในที่ทำงาน และความเข้าใจลักษณะที่แตกต่างกันขององค์กร ตลอดจนเข้าใจความต้องการของตนเอง การเลือกทำงานเลือกรับคนที่เหมาะสมกับองค์กร ทำให้ได้รีบการตอบสนองที่เหมาะสม ส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงาน ที่สำคัญคือมีความสุขในตนเอง และเพื่อนร่วมงานก็มีความการอบรมใช้เวลาเพียง 1 วัน ซึ่งน้อยไป หากมีเวลามากกว่านี้ จะดีมาก 
การศึกษาดูงานคณะวิทยาการจัดการไม่มีการศึกษาดูงานของสถานประกอบการที่ประสบความสำเร็จ เช่น บริษัทโอสถสภา หรือ มาม่า มีประสบการณ์และความรู้เพิ่มเติม  
สุดยอดเทคนิคการสอนสมัยใหม่ไม่มีได้รับความรู้เกี่ยวกับการใช้เทคนิควิธีต่างๆ ในการจัดการเรียนการสอน เพื่อทำให่กระบวนการเรียนรู้ ของนักศึกษาไม่น่าเบื่อ 1. สรุปสาระสำคัญของการฝึกอบรม/ศึกษาดูงาน ดังนี้ ได้รับความรู้เกี่ยวกับการใช้เทคนิคการสอนวิธีต่างๆ 1.1 การนำกรณีศึกษา (Case Study) มาใช้ในการเรียนการสอน โดย รศ.ดร.จุฑาพรรธ์ ผดุงชีวิต บรรยายเน้นให้เห็นว่า ในการจัดการเรียนการสอนโดยวิธีนี้ ทำให้กระบวนการเรียนรู้ ของนักศึกษาไม่น่าเบื่อ เกิดความกระตือรือร้นน่าสนใจยิ่งขึ้น 1.2 รูปแบบและเทคนิคการสอนแนวใหม่ โดย ผศ.ดร.จุฑามาศ แก้วพิจิตร เน้นการสอนให้น้อย เรียนรู้ให้มาก 1.3 เทคโนโลยีการสอนเพื่อการเรียนรู้แบบใหม่ โดย ผศ.ดร.ปราโมทย์ ลือนาม เน้นให้เห็นว่า เทคโนโลยีและสารสนเทศ สมัยใหม่เป็นตัวช่วยที่ดี อีกอย่างหนึ่งที่ทำให้กระบวนการเรียนการสอนน่าสนใจ 1.4 การวัดและประเมินผลการเรียนการสอน รศ.ดร. จรูญศรี มาดิลกโกวิท กระบวนการเรียน การสอนที่ดีมีคุณภาพ มีผลต่อการวัดและประเมินผลการเรียนการสอนที่มีความสอดคล้องกันมีผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา ได้รับความรู้เกี่ยวกับการใช้เทคนิควิธีต่างๆ ในการจัดการเรียนการสอน เพื่อทำให่กระบวนการเรียนรู้ ของนักศึกษาไม่น่าเบื่อ เป็นการเสริมสร้างประสบการณ์ที่ดี สำหรับผู้สอน เกิดแนวคิดในการจัดกระบวนการสอน ที่สร้างสรรค์ เหมาะสมกับผู้เรียน  15/08/2558
การบริหารความเสี่ยง