รายละเอียดโครงการวิจัย
กลับไปหน้าโครงการวิจัยทั้งหมด

รหัสโครงการ :R000000614
ชื่อโครงการ (ภาษาไทย) :ศึกษาเปรียบเทียบกฏระเบียบข้อบังคับการเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้นของพนักงานสายสนับสนุนวิชาการของมหาวิทยาลัยราชภัฏ 8 แห่งในเขตภาคเหนือ
ชื่อโครงการ (ภาษาอังกฤษ) :A Comparative Study of Rules, Regulations and Regulations For Entering Higher Positions of Academic Support Staff of 8 Rajabhat Universities in The Northern Region.
คำสำคัญของโครงการ(Keyword) :กฏ, ระเบียบ, ข้อบังคับ
หน่วยงานเจ้าของโครงการ :สำนักงานอธิการบดี > กลุ่มงานการเจ้าหน้าที่
ลักษณะโครงการวิจัย :โครงการวิจัยเดี่ยว
ลักษณะย่อยโครงการวิจัย :ไม่อยู่ภายใต้แผนงานวิจัย/ชุดโครงการวิจัย
ประเภทโครงการ :โครงการวิจัยใหม่
สถานะของโครงการ :propersal
งบประมาณที่เสนอขอ :15000
งบประมาณทั้งโครงการ :15,000.00 บาท
วันเริ่มต้นโครงการ :17 ตุลาคม 2565
วันสิ้นสุดโครงการ :17 ตุลาคม 2566
ประเภทของโครงการ :งานวิจัยเชิงสำรวจ
กลุ่มสาขาวิชาการ :มนุษยศาสตร์
สาขาวิชาการ :สาขานิติศาสตร์
กลุ่มวิชาการ :อื่นๆ
ลักษณะโครงการวิจัย :ระดับชาติ
สะท้อนถึงการใช้ความรู้เชิงอัตลักษณ์ : ไม่สะท้อนถึงการใช้ความรู้เชิงอัตลักษณ์
สร้างความร่วมมือประหว่างประเทศ GMS : ไม่สร้างความร่วมมือทางการวิจัยระหว่างประเทศ
นำไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา :ไม่นำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาณภาพการศึกษา
เกิดจากความร่วมมือกับภาคการผลิต : ไม่เกิดจากความร่วมมือกับภาคการผลิต
ความสำคัญและที่มาของปัญหา :"คำว่า ราชภัฎ" เป็นคำพระราชทานเป็นที่มาของ "คำว่าคนของพระราชา ข้า ฯ ่ของแผ่นดิน" แต่เดิม เรียกว่า โรงเรียนฝึกหัดครู วิทยาลัยครู และ กรมการฝึกหัดครู ปัจจุบันเรียกว่า " มหาวิทยาลัยราชภัฏ มีฐานะเป็นนิติบุคคลตามกฎหมาย แห่งพระราชบัญญํติมหาวิทาลัยราชภัฏ พศ. ๒๕๔๗ เป็นสถาบันอุดมศึกษาชั้นนำเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น จัดการศึกษาด้านวิชาการและวิชชาชีพชั้นสูงสืบสานงานด้านพระราชดำริ ตามแนวทางศาสตร์พระราชา ทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมผลิตและมุ่งเน้นพัฒนาครูและบุคลากรด้านการศึกษาเป็นหลัก ให้มีคุณภาพสู่ระดับมาตรฐานสากล แต่ด้วยสังคมและสถานการณ์สิ่งแวดล้อม ทำให้มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์และมหาวิทยาลัยราชภัฎฯลฯ อื่น มีการปรับเปลี่ยนสถานภาพจากข้าราชการเป็นระบบพนักงานทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุน ทำให้มีกระบวนการขั้นตอนที่ค่อนข้างมากและวุ่นวานโดยทาง สำนังคณะกรรการการอุดมศึกษา (สกอ.)มักมีระเบียบที่ไม่ชัดเจน ทำให้ในแต่ละมหาวิทยาลัย ฯลฯ ไม่ให้ความสนใจและไม่ใส่ใจ นำไปสู่การฟ้องร้องเป็นคดีปกครองมากเป็นอันดับต้น ๆ อันเนื่องมาจาก มหาวิทยาลัยราชภัฏ ฯลฯ มีเรื่องกระบวนการที่ยากมากทั้งที่สถานภาพพนักงานมหาวิทยาลัยฯ แท้จริงแล้วสถานภาพตำ่กว่าลูกจ้างประจำส่วนราชการอย่างเห็นได้ชัด แต่ละมหาวิทยาลัยจึงพยายยามที่จะไม่ใส่ใจ หรือแบ่งแยกชนชชั้นให้มากที่สุด จากปัญหาตรงนี้ทำให้เกิดปัญหาฟ้องร้องคดีทางปกครองมากเกินความจำเป็น ต่อไปคงพัฒนาเป็นคดีอาญามากขึ้น ปัญหาหลัก ทำให้พบว่ามีความแตกแยกในองค์กร การแบ่งแยกระบบชนชั้น ประกอบกับความมั่งคงทางอาชีพไม่ค่อยมีแม้ว่าจะเป็นลูกจ้างส่วนราชการ เมื่อเข้ามาทำงานแล้วกลับพบว่ามีความไม่มั่นคงทางอาชีพ เพื่อลดปัญหาการใช้กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ที่ไม่เป็นไปตามกฎหมาย เพืื่อป้องกันการดำเนินคดีทางปกครอง คดีแพ่งและคดีอาญา ซึ่งปัญหาเรื่องนี้ได้เกิดขึ้นในมหาวิทาลัยราชภัฏชื่อดัง ฯลฯ เมื่อไม่นานมานี้พบว่ามหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ ได้เลิกจ้างพนักงานสายอาจารย์ เพราะสถานภาพความมั่นคงไม่มี และเพื่อจะแก้ปัญหาให้กับพนักงานสายสนับสนุน เพื่อให้ดำรงตำแหน่งที่สูงขึ้นและความมั่นคงทางอาชีพเพื่อที่จะได้บุคลากรที่มีคุณภาพสามารถพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏ ฯลฯไปสู่ระดับมาตรฐานสากล
จุดเด่นของโครงการ :-
วัตถุประสงค์ของโครงการ :๑) หามาตรการลดความเหลื่อมลำ้ สิทธิเสรีภาพ ป้องกันการฟ้องร้องดำเนินคดีภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏแต่ละแห่ง ๘ แห่งในเขตภาคเหนือ (๒) กำกับดูแลให้พนักงานสายสนับ ภายในมหาวิทยาลัยฯ ของแต่ละแห่ง รู้ระเบียบ ขั้นตอน กฎหมายที่เกี่ยวข้องการพัฒนาอาชีพของแต่ละมหาวิทยาลัยราชภัฏ ในเขตภาคเหนือ (๓) เปรียบเทียบข้อดี ข้อเสีย ของพนีกงานสายสนับสนุนแต่ละมหาวิทยาลัยราชภัฏ ๘ แห่งในเขตภาคเหนือ (๔) ศึกษาผลกระทบ หากไม่ปฏิบัติตาม กฎ ระเบียบ ข้อบังคับของแต่ละมหาวิทยลัยฯลฯ ๕.ศึกษาความล่าช้าและสิทธิสวัสดิการที่เสียไป
ขอบเขตของโครงการ :พื้นที่ภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ และพื้นที่เทียบเคียงจากมหาวิทยาลัยราชภัฏอื่น ๆ ๘ แห่งในเขตภาคเหนือศึกษาปัญหาที่คล้ายคลึงของการใช้ กฎ ระเบียบ ข้อบังคับของพนักงานสายสนับสนุนวิชาการของมหาวิทยาลัยราชภัฏอื่น ๆ ทั้ง ๘ แห่งในเขตภาคเหนือ ขอบเขตด้านเวลา : ใช้เวลาการศึกษาวิจัย ๑๒ เดือน ตัวแปรอิสระ : ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษาประสบการณ์ในการทำงาน ด้านการใช้กฎ ระเบียบ ข้อบังคับของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ตัวแปรตาม : ได้แก่ ผลลัพธ์ทางการศึกษา ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก
ผลที่คาดว่าจะได้รับ :-
การทบทวนวรรณกรรม/สารสนเทศ :-
ทฤษฎี สมมุติฐาน กรอบแนวความคิด :-
วิธีการดำเนินการวิจัย และสถานที่ทำการทดลอง/เก็บข้อมูล : ๑. รวบรวมข้อมูลและศึกษากรณีปัญหาศึกษาการเปรียบเทียบกฏระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้นของพนักงานสายสนับสนุนของมหาวิทยาลัยราชภัฏ ๘ แห่งในเขตภาคเหนือ ๒. สังเคราะห์การวิจัยข้อดี ข้อเสียเปรียบเทียบกฏระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้นพนักงานสายสนับสนุนของมหาวิทยาลัยราชภัฏ ๘ แห่งในเขตภาคเหนือ ๓. ทำข้อดี ข้อเสีย หาทางแก้ไข ปรับปรุงและสร้างโมเดลของปัญหาในแต่ละกรณีที่ทำการศึกษาขั้นตอนวิธีการเสนอผู้บริหาร เพื่อนำไปสู่การแก้ไขปีััญหา
คำอธิบายโครงการวิจัย (อย่างย่อ) :-
จำนวนเข้าชมโครงการ :56 ครั้ง
รายชื่อนักวิจัยในโครงการ
ชื่อนักวิจัยประเภทนักวิจัยบทบาทหน้าที่นักวิจัยสัดส่วนปริมาณงาน(%)
นายรังสรรค์ คำแสน บุคลากรภายในมหาวิทยาลัยหัวหน้าโครงการวิจัย100

กลับไปหน้าโครงการวิจัยทั้งหมด