รายละเอียดโครงการวิจัย
กลับไปหน้าโครงการวิจัยทั้งหมด

รหัสโครงการ :R000000282
ชื่อโครงการ (ภาษาไทย) :การพัฒนารูปแบบนวัตกรรมเพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้าโซ่อุปทานข้าว กลุ่ม วิสาหกิจชุมชนลุ่มแม่น้ำ เจ้าพระยา
ชื่อโครงการ (ภาษาอังกฤษ) :To develop innovative products to enhance the value chain of rice. Community enterprise Nile Chao Phraya River.
คำสำคัญของโครงการ(Keyword) :โซ่อุปทานข้าว ( Supply Chain of Rice) นวัตกรรมเพื/อเพิ/มมูลค่า (Innovation to value creation)
หน่วยงานเจ้าของโครงการ :คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม > ภาควิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
ลักษณะโครงการวิจัย :โครงการวิจัยเดี่ยว
ลักษณะย่อยโครงการวิจัย :ไม่อยู่ภายใต้แผนงานวิจัย/ชุดโครงการวิจัย
ประเภทโครงการ :โครงการวิจัยใหม่
สถานะของโครงการ :แผนงานวิจัยหรือชุดโครงการวิจัยและโครงการวิจัยที่เสร็จสิ้นแล้ว
งบประมาณที่เสนอขอ :300000
งบประมาณทั้งโครงการ :300,000.00 บาท
วันเริ่มต้นโครงการ :01 ตุลาคม 2557
วันสิ้นสุดโครงการ :30 กันยายน 2558
ประเภทของโครงการ :งานวิจัยพื้นฐาน(ทฤษฎี)/บริสุทธิ์
กลุ่มสาขาวิชาการ :เกษตรศาสตร์
สาขาวิชาการ :สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย
กลุ่มวิชาการ :วิศวกรรมอุสาหกรรมวิจัย
ลักษณะโครงการวิจัย :ไม่ระบุ
สะท้อนถึงการใช้ความรู้เชิงอัตลักษณ์ : ไม่สะท้อนถึงการใช้ความรู้เชิงอัตลักษณ์
สร้างความร่วมมือประหว่างประเทศ GMS : ไม่สร้างความร่วมมือทางการวิจัยระหว่างประเทศ
นำไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา :ไม่นำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาณภาพการศึกษา
เกิดจากความร่วมมือกับภาคการผลิต : ไม่เกิดจากความร่วมมือกับภาคการผลิต
ความสำคัญและที่มาของปัญหา :ความสำคัญ ที/ทำการวิจัย สอดคล้องกับ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที/11 (พ.ศ. 2555-2559) ได้เน้นการพัฒนาตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง สร้างความเข้มแข็งให้สังคม ชุมชน และ ท้องถิ/น การเกิดปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจ ท/ีเกิดขึ3นได้ส่งผลกระทบต่อสังคม ชุมชน และท้องถิ/นอย่าง มากมาย เช่น ปัญหาความยากจน และปัญหาการใช้ทรัพยากรที/เกิดจากการประกอบอาชีพ (สำนักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. 2549: 5-7) สถานการณ์การทำเกษตรกรรมใน ปัจจุบันเน้นผลผลิตปริมาณมาก การใช้เทคโนโลยีและสารเคมีเป็นปัจจัยหลักสำคัญในกระบวนการผลิต ความเสียหายท/ีดีต่อสภาพดิน น3ำ อากาศ ส่งผลกระทบต่อความอุดมสมบูรณ์ปัจจัยทางธรรมชาติท/ีเป็ น รากฐานการทำเกษตรกรรม ปริมาณผลผลิตท/ีได้ตกตํ/าและคุณภาพไม่ค่อยจะปลอดภัย สอดคล้องกับ รายงานการวิจัย ธนาคารเพื/อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (รายงานกิจการธนาคารเพื/อการเกษตร และสหกรณ์การเกษตร.2550) ปัญหาใหญ่ของเกษตรกรส่วนใหญ่คือ ต้นทุน และความรู้ที/น้อยจึงไม่ สามารถบริหารจัดการทรัพยากรได้เต็มที/ในการผลิต และอีกปัญหาที/พบกันอยู่เสมอคือปัญหาพ่อค้าคน กลาง ราคาท/ีพ่อค้าคนกลางได้รับจากเกษตรกรนั3นเป็นราคาท/ีตํ/ามาก แต่กลับไปขายต่อได้ในราคาท/ีสูง ส่วนต่างจำนวนมากนี3ทำให้กำไรเกือบจะทั3งหมดตกไปอยู่ท/ีพ่อค้าคนกลาง การพัฒนารูปแบบนวัตกรรมเพ/ือเพิ/มมูลค่าสินค้าโซ่อุปทานข้าว กลุ่มวิสาหกิจชุมชนลุ่มแม่น3ำ เจ้าพระยา สอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย ที/เน้นการ สร้างมูลค่าผลผลิตด้วยฐานความรู้ (Value Creation From Knowledge Application) (สำนักงาน คณะกรรมการพัฒนา การเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. 2549: 5-7) และสอดคล้องกับสภาพการ เปลี/ยนแปลงที/รวดเร็วของเทคโนโลยี (Technology) เศรษฐกิจ (Economic) สังคม (Social) การเมือง (Politics) การค้าระหว่างประเทศ (International Trade) และการแข่งขัน (Competition) จำเป็นต้องมีการ จัดการความรู้และ การถ่ายทอดเทคโนโลยีที/ดีและมีประสิทธิภาพ นอกจากนี3 สถาบันพัฒนาการบริหาร จัดการระหว่างประเทศ (International Institute for Management Development) มีการศึกษา ความสามารถในการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศไทย พบว่าอยู่ในอันดับท/ี 43 (สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. 2549: 8-9) ทำให้มีความจำเป็นต้องขับเคลื/อน การพัฒนาด้านต่างๆโดยเฉพาะอย่างยิ/งด้านการจัดการทรัพยากร เพ/ือเพิ/มความสามารถในการแข่งขัน ตั3งแต่ระดับชุมชนและสังคมทั3งในประเทศและระหว่างประเทศ ท/ีมาของปัญหาท/ีทำการวิจัย คือขาดการพัฒนารูป พึ/งพาตนเองตามแนวแบบเศรษฐกิจพอเพียง ขาดการจัดการระบบโซ่อุปทานในเชิงพาณิชย์ แต่ท/ีสำคัญ ชุมชนลุ่มแม่น3ำเจ้าพระยา ประชากรส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพเกษตรกรเป็นหลัก พื3นท/ีการเกษตรในลุ่มน3ำเจ้าพระยา ส่วนใหญ่เป็นการปลูกข้าวและพืช ไร่ โดยเป็นพื3นท/ีปลูกข้าวมากท/ีสุดถึงร้อยละ 69.86 ของพื3นท/ีการเกษตรทั3งหมด โดยพื3นท/ีปลูกข้าวส่วน ใหญ่จะอยู่บริเวณท/ีราบลุ่มของลุ่มน3ำเจ้าพระยา พืชท/ีปลูกในลำดับรองลงมาคือพืชไร่ มีการปลูกประมาณ ร้อยละ 23.76 ของพื3นท/ีการเกษตรทั3งหมดโดยจะปลูกบริเวณท/ีราบท/ีอยู่ห่างไกลแหล่งน3ำ โดยเฉพาะ บริเวณฝั/งตะวันออกของลุ่มน3ำ ส่วนพื3นท/ีการเกษตรท/ีเหลือมีการปลูกไม้ผล-ไม้ยืนต้นในจำนวนไม่มาก นักประมาณร้อยละ 5.74 ของพื3นท/ีการเกษตรทั3งหมด (กรมชลประทาน.2553) โดยการปลูกข้าวนั3น เกษตรกรต้องใช้เวลารอการเก็บเก/ียวข้าวนั3นแต่ละครั3ง ประมาณ 3-4 เดือน โดย 1 ปี อาจปลูกข้าวได้ 1-2 ครั3ง เน/ืองจากในปัจจุบันนั3นเราจะไปอ้างอิงธรรมชาติค่อนข้างมาก ทำให้รายได้ของเกษตรกรนั3นไม่พอ กับรายจ่ายท/ีได้ลงทุนไว้ ทำให้เกิดหนี3สิน บางเกษตรกรต้องทำเช่าท/ีดินในการทำนา พอเจอกับธรรมชาติท/ี ไม่คง ทำให้เป็นหนี3สินจำนวนมาก พอหลายๆปี ก็ทำให้มีหนี3สินท/ีไม่สามารถใช้ได้หมด ทำให้เป็นผลเสีย หลายด้าน จาก ปัญหาดังกล่าว โครงการวิจัยสามารถทำให้เกษตรกรได้รวมกลุ่มพึ/งพาตนเอง เป็นการสร้าง ความเข้มแข็งให้กับระบบเศรษฐกิจชุมชนเพ/ือเป็นหลักประกันการอยู่ดีกินดีของประชาชนเป็นเร/ืองท/ีมี ความสำคัญ ประเทศไทยยังมีทุนท/ีเป็ นทรัพยากร ผลผลิต รวมทั3งทุนทางสังคม โดยเฉพาะความรู้ ภูมิ ปัญญา ระบบคุณค่าและวัฒนธรรม การส่งเสริมสนับสนุนให้ชุมชนได้เรียนรู้ได้พบทุนเหล่านี3 ได้พัฒนา ขีดความสามารถในการจัดการทรัพยากรและทุนท/ีมีอยู่ให้เกิดเป็นระบบเศรษฐกิจชุมชนท/ีเข้มแข็ง ด้วย การสร้างสรรค์กิจกรรมทางเศรษฐกิจที/หลากหลายและมีระบบการจัดการที/เรียกว่าวิสาหกิจชุมชน ดังนั3น เพ/ือการแก้ไขปัญหาระยะยาวและเกิดประโยชน์ต่อชุมชนในสังคมท/ีมีความยัง/ ยืน จังได้ ศึกษาและมีการพัฒนาห่วงโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ของข้าว ในกลุ่มวิสาหกิจชุมชนลุ่มแม่น3ำเจ้าพระยา โดยเริ/มศึกษาตั3งแต่ ต้นน3ำ กลางน3ำ ปลายน3ำ เพ/ือลดปัญหาการผลิตท/ีใช้ต้นทุนสูงและขายข้าวถูก ทำให้ ส่วนต่างของกำไรมีไม่มาก โดยงานวิจัยนี3จะเป็นต้นแบบการลดช่องว่างท/ีเกษตรกรไม่สามารถลดต้นทุน การผลิตข้าวต่อไรตํ/า เพิ/มผลผลิตข้าวท/ีสูงต่อไร่ และมีเพิ/มช่องทางให้สามารถขายถึงผู้บริโภคโดยตรงท/ี ไม่ต้องผ่านพ่อค้าคนกลางหรือโรงสีข้าว
จุดเด่นของโครงการ :ได้แนวางรูปแบบโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ข้าวเพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้าข้าว กลุ่มวิสาหกิจชุมชนลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา
วัตถุประสงค์ของโครงการ :1. เพื่อศึกษารูปแบบโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ข้าว และนวัตกรรมเพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้าข้าว กลุ่มวิสาหกิจชุมชนลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา 2. เพื่อทดลองและสาธิตการพัฒนารูปแบบนวัตกรรมเพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้าโซ่อุปทานข้าว กลุ่มวิสาหกิจชุมชนลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา 3. เพื่อถ่ายทอดความรู้และประเมินผลนวัตกรรมเพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้าโซ่อุปทานข้าว กลุ่มวิสาหกิจชุมชนลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา
ขอบเขตของโครงการ :1. ขอบเขตประชากร/พื้นที่การวิจัย กลุ่มวิสาหกิจชุมชนลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาจำนวน 4 กลุ่มได้แก่ 1) ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง คุณสุพจน์ โคมณี อำเภอชุมแสง จังหวัดนครสวรรค์ 2) ศูนย์การเรียนรู้วิสาหกิจชุมชนขนมจีนโบราณ-คุกกี้ครูเป้า อำเภอโกรกพระ จังหวัดนครสวรรค์ 3) ศูนย์การเรียนรู้วิสาหกิจชุมชน คุณผดุง ช่วยค้ำชู อำเภอแม่วงก์ จังหวัดนครสวรรค์ และ 4) ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง คุณอำพร ควรคิด อำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี 2. ขอบเขตเกี่ยวกับเนื้อหาการศึกษาวิจัย ได้แก่บริบท ด้านพื้นที่ ด้านการมีส่วนร่วม ด้านการบริหารจัดการ ด้านความรู้และภูมิปัญญา พัฒนาผลิตภัณฑ์ ด้านการออกแบบ ด้านการผลิตและด้านการตลาด สู่การใช้เชิงพาณิชย์
ผลที่คาดว่าจะได้รับ :1. มีการเผยแพร่ในวารสารการวิจัยของคณะกรรมการการอุดมศึกษา 2..มีการเผยแพร่ในวารสารการวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ และมหาวิทยาลัยในเครือข่าย 3. มีการจดสิทธิบัตรในด้านรูปแบบนวัตกรรมความรู้ใหม่ของผลการวิจัย 4..กระบวนการวิจัยและการมีส่วนร่วมของชุมชนจะเป็นการเพิ่มศักยภาพให้ชุมชนมีความสามารถในการต่อต้านและรับมือกับการเปลี่ยนแปลงได้ 5. มีหน่วยงานที่นำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ได้แก่ 5.1 กลุ่มวิสาหกิจชุมชน 5.2 เกษตรอำเภอ 5.3 องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น
การทบทวนวรรณกรรม/สารสนเทศ :1. แนวคิดการจัดการโซ่อุปทาน 2. ขอบเขตของการจัดการจัดการโซ่อุปทาน 3. มาตราวัดการจัดการโซ่อุปทาน 4. แนวคิดการจัดการห่วงโซ่มูลค่า 5. โซ่อุปทานข้าวไทยในปัจจุบัน 6. การสร้างมูลค่าเพิ่มในข้าว 7. นวัตกรรมการปลูกข้าวต่างๆ 8. ชุมชนลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา 9. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ทฤษฎี สมมุติฐาน กรอบแนวความคิด :การทบทวนวรรณกรรม/สารสนเทศ (information) ทเี'กยี'วข้อง 9.1 แนวคิดและทฤษฎีการสร้างรูปแบบโซ่อุปทาน 9.2 แนวคิดและทฤษฎีการพฒั นาเศรษฐกิจพอเพียง 9.3 แนวคิดหลกั การพระราชบญั ญตั ิส่งเสริมวสิาหกิจชุมชน 9.3.1 แนวคิดการออกแบบ 9.3.2 แนวคิดหลกั กระบวนการผลิต 9.3.3 แนวคิดหลกั การตลาดเชิงพาณิชย ์ 9.4 แนวคิดกระบวนการมีส่วนร่วมการเรียนรู้ 9.5 แนวคิดทฤษฎีทฤษฎีวศิ วกรรมของนวตั กรรม 9.6 ทฤษฎีการผลกั ดนั จากตลาดในการทาํ นวตั กรรม 9.7 ทฤษฎีระบบของนวตั กรรม 9.8 ยทุ ธศาสตร์สู่การเป็นศูนยก์ลางดา้นโลจิสติกส์ของเอเชีย จงัหวดันครสวรรค ์ 9.9 ยทุ ธศาสตร์อุดมศึกษาและแผนพฒั นาเศรษฐกิจสังคมแห่งชาติฉบบัที/ สิบเอด็ 9.10 แนวคิดหลกั การพระราชบญั ญตั ิมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พ.ศ. 2547 9.11 แนวคิดทฤษฎีการประเมินผ
วิธีการดำเนินการวิจัย และสถานที่ทำการทดลอง/เก็บข้อมูล :ขั้นตอนการดำเนินการวิจัย การศึกษาการพัฒนานวัตกรรมเพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้าโซ่อุปทานข้าว กลุ่มวิสาหกิจชุมชนลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา เป็นการวิจัยทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ผู้วิจัยได้การดำเนินการวิจัยโดยแบ่งขั้นตอนเป็น 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การศึกษารูปแบบโซ่อุปทาน และนวัตกรรมของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ในขั้นตอนนี้เป็นช่วงของการศึกษารูปแบบโซ่อุปทาน โดยเป็นการเข้าไปสังเกต(observation) และการสำรวจ(survey) ซึ่งจะต้องดำเนินการศึกษาข้อมูลปฐมภูมิ ด้วยการเก็บภาพถ่ายสภาพแวดล้อมทางกายภาพในจุดต่างๆที่สนใจ สำหรับข้อมูลทุติยภูมิดำเนินการค้นหาข้อมูลโดยศึกษาข้อมูลเชิงพื้นที่ และศึกษาจากงานวิจัยต่างๆที่เคยได้กระทำไว้ โดยข้อมูลที่เก็บรวบรวมทั้งหมดเป็นข้อมูลเกี่ยวกับรูปแบบสภาพพื้นที่ จากนั้นดำเนินการสัมภาษณ์เชิงลึก(In-depth interview) จากผู้ให้ข้อมูลคนสำคัญ(Key Informant) จำนวน 4 คน ได้แก่ ผู้นำกลุ่มวิสาหกิจชุมชน หรือปราชญ์ชาวบ้านเพื่อวิเคราะห์ถึงปัญหาและรูปแบบของนวัตกรรมที่ใช้เพิ่มมูลค่าสินค้าโซ่อุปทานข้าวโดยจัดการประชุมและร่วมทำกิจกรรมระหว่างผู้วิจัยและผู้นำชุมชน และเกษตรกร ระยะที่ 2 ทดลองและสาธิตรูปแบบนวัตกรรมเพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้าโซ่อุปทานข้าว ในขั้นตอนนี้เป็นการลงพื้นที่เป็นการทดลองโดยมีส่วนร่วมของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ได้แก่ ผู้วิจัย ผู้นำชุมชน และเกษตรกรที่ประกอบอาชีพทำนา มีการติดตามผลในการปฏิบัติของผู้นำชุมชน และเกษตรกรที่ประกอบอาชีพทำนา ว่าได้มีดำเนินการทดลองและสาธิตนวัตกรรมที่สร้างขึ้น ระยะที่ 3 การถ่ายทอดความรู้และประเมินผล ในขั้นตอนนี้เป็นการจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการโดยวิธีบรรยาย(Lecture) และศึกษาจากแหล่งเรียนรู้ โดยมีประเมินผลการถ่ายทอดความรู้การเข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการ การเก็บรวบรวมข้อมูล การศึกษาครั้งนี้จะใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้เทคนิคเดลฟาย (Delphi Method) ซึ่งเป็นวิธีการวิจัยหรือตัดสินใจปัญหาต่าง ๆ อย่าเป็นระบบโดยไม่มีการเผชิญหน้ากันโดยตรงระหว่างผู้เชี่ยวชาญ เช่นเดียวกันกับการระดมสมอง (Brain storming) ทำให้ผู้เชี่ยวชาญแต่ละคนสามารถแสดงความคิดเห็นของตนอย่างทำให้ได้ข้อมูลที่น่าเชื่อถือและนำไปประกอบการตัดสินใจด้านต่าง ๆ ได้โดยงานวิจัยจะเก็บข้อมูลจาก 3 แหล่งดังนี้ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการโซ่อุปทานและแนวทางการสร้างมูลค่าเพิ่มสำหรับสินค้าเกษตรไทย 2. การสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (Key in formant interview) โดยการสอบถามผู้นำเชิงปฏิบัติการที่อยู่ในกลุ่มวิสาหกิจชุมชนที่มีประสบการณ์การทำงานเกี่ยวกับอุตสาหกรรมข้าวอย่างน้อย 10 ปี บริเวณลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา 3. การสังเกตทั้งแบบมีส่วนร่วมและไม่มีส่วนร่วม (Participation and Non – Participation Observation) ซึ่งการสังเกตแบบมีส่วนร่วมโดยเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรม เพื่อความเข้าใจในสิ่งที่เกิดขึ้นและสามารถซักถามข้อสงสัยได้ทันที่โดยการศึกษาครั้งนี้เข้าไปสังเกตแบบการมีส่วนร่วมในกิจกรรมการดำเนินงานในส่วนร่วมของต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ เช่น การสำรวจลักษณะการทำงาน การวางแผนปลูกข้าว การปลูกข้าว การแปรรูป และการจัดจำหน่าย เป็นต้น การวิเคราะห์ข้อมูลและสังเคราะห์ข้อมูล หลังจากการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ได้จากการวิจัย ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยได้ดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลและสังเคราะห์ข้อมูล ข้อมูลเชิงปริมาณที่ได้จากผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด นำมาวิเคราะห์ตามระเบียบวิธีทางสถิติ และคำนวณโดยใช้โปรแกรมสถิติการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ เพื่อหาความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ละค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และนำเสนอในรูปแบบตาราง และการบรรยาย
คำอธิบายโครงการวิจัย (อย่างย่อ) :โครงการวจิยัสามารถทาํให้เกษตรกรไดร้วมกลุ่มพ/ึงพาตนเอง เป็นการสร้าง ความเขม้แข็งให้กับระบบเศรษฐกิจชุมชนเพื/อเป็นหลกัประกันการอยู่ดีกินดีของประชาชนเป็นเรื/องที/มี ความสําคญั ประเทศไทยยงัมีทุนที/เป็นทรัพยากร ผลผลิต รวมทั3งทุนทางสังคม โดยเฉพาะความรู้ ภูมิ ปัญญา ระบบคุณค่าและวฒันธรรม การส่งเสริมสนบัสนุนให้ชุมชนไดเ้รียนรู้ไดพ้บทุนเหล่านี3 ไดพ้ฒันา ขีดความสามารถในการจดัการทรัพยากรและทุนที/มีอยู่ให้เกิดเป็นระบบเศรษฐกิจชุมชนที/เขม้แข็ง ดว้ย การสร้างสรรคก์ิจกรรมทางเศรษฐกิจที/หลากหลายและมีระบบการจดัการที/เรียกว่าวสิาหกิจชุมชน
จำนวนเข้าชมโครงการ :803 ครั้ง
รายชื่อนักวิจัยในโครงการ
ชื่อนักวิจัยประเภทนักวิจัยบทบาทหน้าที่นักวิจัยสัดส่วนปริมาณงาน(%)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณัฐเศรษฐ์ น้ำคำ บุคลากรภายในมหาวิทยาลัยหัวหน้าโครงการวิจัย50
นายจรรโลง พิรุณ บุคลากรภายในมหาวิทยาลัยผู้ร่วมวิจัย10
นายเสกสิทธิ์ รัตนสิริวัฒนกุล บุคลากรภายในมหาวิทยาลัยผู้ร่วมวิจัย10
นางสาวชัญญพัชร์ จารุวัชรเศรษฐ์ บุคลากรภายในมหาวิทยาลัยผู้ร่วมวิจัย10
นายภูริช ยิ้มละมัย บุคลากรภายในมหาวิทยาลัยผู้ร่วมวิจัย10
นายสุรชัย บุญเจริญ บุคลากรภายในมหาวิทยาลัยผู้ร่วมวิจัย10

กลับไปหน้าโครงการวิจัยทั้งหมด