รหัสโครงการ : | R000000274 |
ชื่อโครงการ (ภาษาไทย) : | การพัฒนาเครื่องฟักไข่เทอร์โมอิเล็กทริก โดยใช้ระบบลูกกลิ้ง สำหรับการเลี้ยงนกกระทาในจังหวัดนครสวรรค์ |
ชื่อโครงการ (ภาษาอังกฤษ) : | Development of a Thermoelectric Incubator using roller system for Japanese quail culture in Nakhonsawan Province |
คำสำคัญของโครงการ(Keyword) : | เครื่องฝักไข่,เทอร์โมอิเล็กทริก,ระบบลูกกลิ้ง,นกกระทา |
หน่วยงานเจ้าของโครงการ : | คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม > ภาควิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม |
ลักษณะโครงการวิจัย : | โครงการวิจัยเดี่ยว |
ลักษณะย่อยโครงการวิจัย : | ไม่อยู่ภายใต้แผนงานวิจัย/ชุดโครงการวิจัย |
ประเภทโครงการ : | โครงการวิจัยใหม่ |
สถานะของโครงการ : | แผนงานวิจัยหรือชุดโครงการวิจัยและโครงการวิจัยที่เสร็จสิ้นแล้ว |
งบประมาณที่เสนอขอ : | 380000 |
งบประมาณทั้งโครงการ : | 380,000.00 บาท |
วันเริ่มต้นโครงการ : | 01 ตุลาคม 2559 |
วันสิ้นสุดโครงการ : | 30 กันยายน 2560 |
ประเภทของโครงการ : | การวิจัยและพัฒนา |
กลุ่มสาขาวิชาการ : | เกษตรศาสตร์ |
สาขาวิชาการ : | อื่นๆ |
กลุ่มวิชาการ : | อื่นๆ |
ลักษณะโครงการวิจัย : | ไม่ระบุ |
สะท้อนถึงการใช้ความรู้เชิงอัตลักษณ์ : | ไม่สะท้อนถึงการใช้ความรู้เชิงอัตลักษณ์ |
สร้างความร่วมมือประหว่างประเทศ GMS : | ไม่สร้างความร่วมมือทางการวิจัยระหว่างประเทศ |
นำไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา : | ไม่นำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาณภาพการศึกษา |
เกิดจากความร่วมมือกับภาคการผลิต : | ไม่เกิดจากความร่วมมือกับภาคการผลิต |
ความสำคัญและที่มาของปัญหา : | เนื่องจากอาชีพหลักของคนไทยส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรรม การเลี้ยงสัตว์ก็เป็นอีกหนึ่งอาชีพที่มีความสำคัญในแวดวงการเกษตรนอกเหนือจากการทำไร่ทำสวนโดยเฉพาะอย่างยิ่งอาชีพเลี้ยงนกกระทาซึ่งเป็นสัตว์ปีกอีกชนิดหนึ่งที่ให้ผลผลิตสูง ทั้งยังมีรสชาติดี ไขมันต่ำจึงทำให้มีการบริโภคเนื้อนกกระทาและไข่นกกระทาเป็นจำนวนมากทำให้มีผู้ที่ต้องการประกอบอาชีพทางด้านนี้เป็นจำนวนมากและผู้ประกอบการเดิมที่ต้องการลดต้นทุนและเพิ่มรายได้ให้แก่ตัวผู้ประกอบการเอง
การเลี้ยงนกกระทา ขั้นตอนการฟักไข่เป็นอีกหนึ่งขั้นตอนที่ผู้ประกอบการจะต้องให้ความสำคัญเป็นพิเศษ เพราะในกรณีที่แม่นกฟักไข่เองมักจะประสบปัญหาไข่แตกขณะฟักหรือแม่นกทับลูกอ่อนตาย ผู้ประกอบการส่วนใหญ่จึงหันมานิยมใช้ตู้ฟักไข่แทน แต่ปัญหาของตู้ฟักไข่ในปัจจุบันมีการสิ้นเปลืองพลังงานไฟฟ้าที่สูง เนื่องจากต้องใช้อุปกรณ์ให้ความร้อน และในขณะที่ฟักไข่นกกระทาต้องมีการกลับไข่เพราะถ้าไม่มีการกลับไข่เชื้อของลูกนกจะลอยตัวขึ้นไปติดกับเปลือกไข่ทำให้ไข่เสียไม่เกิดการฟักตัว โดยในการฟักไข่นกกระทาจะต้องมีการกลับไข่อย่างน้อยวันละ 4-5 ครั้ง ซึ่งปัจจุบันผู้ประกอบการใช้ระบบการกลับไข่โดยการเปิดตู้แล้วใช้มือในการกลับไข่ซึ่งจะทำให้กลับไข่ได้ไม่ทั่วถึงและยังมีการสูญเสียพลังงานความร้อนเป็นจำนวนมากเนื่องจากจะต้องเปิดตู้เป็นเวลานาน ส่งผลให้อุณหภูมิภายในตู้ฟักไม่คงที่และเกิดการสิ้นเปลืองพลังงานไฟฟ้าที่สูง
จากปัญหาดังกล่าวผู้จัดทำโครงงาน จึงสนใจที่จะพัฒนาเครื่องฟักไข่เทอร์โมอิเล็กทริกโดยใช้ระบบลูกกลิ้ง สำหรับการเลี้ยงนกกระทาในจังหวัดนครสวรรค์ เพื่อการประหยัดพลังงานไฟฟ้าและสามารถควบคุมอุณหภูมิให้อยู่ที่ประมาณ 37.5 องศาเซลเซียสได้ ซึ่งจะส่งผลให้การกลับไข่ทั่วถึงมากยิ่งขึ้นและลดระยะเวลาในการฟักไข่ ลดอัตราเสี่ยงในการที่ไข่จะไม่ฟักตัว ทำให้เปอร์เซ็นการเกิดสูงขึ้นจากเดิมและลดต้นทุนในการฟักไข่นกกระทา |
จุดเด่นของโครงการ : | 8.1 ไดช ตช นแบบการพพ ฒนาเครร องฟพ กไขขเทอรร โมออเลล กทรอ กโดยใชช ระบบลล กกลอ ล งสสาหรพ บการเลล ล ยงนกกระทาในจพ งหวพ ด
นครสวรรคร
8.2 ไดช เครร องฟพ กไขขเทอรร โมออเลล กทรอ กโดยใชช ระบบลล กกลอ ล งสสาหรพ บการเลล ล ยงนกกระทาในจพ งหวพ ดนครสวรรคร ทล รมล
ประสอ ทธอ ภาพ
8.3 ไดช เครร องฟพ กไขขเทอรร โมออเลล กทรอ กโดยใชช ระบบลล กกลอ ล ง ทล รสามารถจดสอ ทธอ บพ ตร/อนย สอ ทธอ บพ ตร โดยอนย ญาตใหช หนขวย
งานทพ ล งภาครพ ฐและเอกชนใชช สอ ทธอ ในเทคโนโลยล (Technology licensing) ได |
วัตถุประสงค์ของโครงการ : | 6.1 เพื่อการพัฒนาเครื่องฟักไข่เทอร์โมอิเล็กทริกโดยใช้ระบบลูกกลิ้งสำหรับการเลี้ยงนกกระทาในจังหวัดนครสวรรค์
6.2 เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของเครื่องฟักไข่เทอร์โมอิเล็กทริกโดยใช้ระบบลูกกลิ้งสำหรับการเลี้ยงนกกระทาในจังหวัดนครสวรรค์
6.3 เพื่อประเมินทางเศรษฐศาสตร์ของเครื่องฟักไข่เทอร์โมอิเล็กทริกโดยใช้ระบบลูกกลิ้งสำหรับการเลี้ยงนกกระทาในจังหวัดนครสวรรค์ |
ขอบเขตของโครงการ : | 7.1 การวิจัยนี้มุ่งเน้นศึกษาและทดสอบเครื่องฟักไข่เทอร์โมอิเล็กทริกโดยใช้ระบบลูกกลิ้ง สำหรับการเลี้ยงนกกระทาในจังหวัดนครสวรรค์
7.2 ออกแบบและสร้างเครื่องฟักไข่โดยใช้เทอร์โมอิเลคทริกส์ในการในความร้อนภายในตู้ สามารถฟักไข่ครั้งละ 500 ฟอง ใช้ระบบลูกกลิ้งในการกลับไข่ 180 องศา |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ : | ได้ต้นแบบเครื่องฟักไข่เทอร์โมอิเล็กทริก โดยใช้ระบบลูกกลิ้ง สำหรับการเลี้ยงนกกระทาในจังหวัดนครสวรรค์
เครื่องฟักไข่เทอร์โมอิเล็กทริก โดยใช้ระบบลูกกลิ้ง มีประสิทธิภาพในการฟักไข่
ลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพการเลี้ยงนกกระทา |
การทบทวนวรรณกรรม/สารสนเทศ : | 1.พันธุ?นกกระทา
นกกระทาที่นิยมเลี้ยงคือ นกกระทาพันธุ?ญี่ปุ?น (Japanese quail) หรื อมีชื่อทางวิทยาศาสตร?ว? า (Courunix
japonica )ซึ่งมีด?วยกัน 3 สี คือ สีลายดําประขาว สีทอง และสีขาว แต?นกทุกชนิดสีจะให?ไข?ที่มี สีเปลือกไข?เหมือนกัน
คือ ลายประ
การเริ่มต?นเลี้ยงนกกระทา สามารถดําเนินการได? 2 แบบดังนี้
1. ซื้อลูกนก หรือนกใหญ?มาเลี้ยง
2. ซื้อไข?มีเชื้อมาฟ?กเอง
วิธีการเลี้ยงและดําเนินการจะบรรลุผลตามที่ต?องการหรือไม?นั้น ผู? เลี้ ยงจะต? องรู? จั กคั ดเลื อกพ?อแม?พั นธุ ? ที่ดี ที่
สามารถถ?ายทอดไปสู?รุ?นลูกหลานต?อไปได? ซึ่งลั กษณะที่ควรพิ จารณาคื อ ลั กษณะการเจริ ญเติ บโต การให? ผลผลิ ตไข?
เป?นต?น
2.การเลี้ยงดูและการให?อาหารนกกระทา
1. การเลี้ยงดูลูกนกตั้งแต?แรกเกิด จนถึง 15 วัน
เมื่อลู กนกฟ? กออกจากไข?หมดแล? ว สั งเกต ดู เมื่อเห็ นว?าขนแห? งดี แล? ว จึ งค?อยนํ าออกมาจากตู? เกิ ด
นํามาเลี้ยงในกรงกกลูกนก พื้นกรงควรปูรองด?วยกระสอบ ไม?ควร ใช? กระดาษหนั งสื อพิ มพ? หรื อกระดาษถุ งอาหารปู
รองเพราะจะทําให?ลูกนกลื่นเกิดขาถ?างหรือขาพิการได? โดยเฉลี่ยแล?วน้ําหนักตัวลูกนกเมื่ออายุ 1 วันจะหนัก ประมาณ
6.75 - 7.0 กรัม
ได? ต? นแบบ เครื่องฟ? กไข?เทอร? โมอิ เล็ กทริ ก
โดยใช? ระบบลู กกลิ้ ง สํ าหรั บการเลี้ ยงนก
กระทาในจังหวัดนครสวรรค? ที่สามารถลด
การใช? พลั งงานไฟฟ? าและลดต? นทุนการ
เลี้ยงนกกระทาให?มีประสิทธิภาพมากขึ้น
- พัฒนาการใช?เทคโนโลยีพลั งงาน
สะอาด (Clean Energy) และ
เทคโนโลยีพลังงานหมุนเวียน
(Renewable Energy)
- ลดปริมาณการใช?เชื้ อเพลิง
- ลดต?นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพ
การทํานาข? าวของเกษตรกร
การพัฒนาเครื่องฟ? กไข?เทอร?โมอิเล็กทริก
โดยใช? ระบบลูกกลิ้ง สําหรับการเลี้ยง
นกกระทาในจังหวัดนครสวรรค?
เกษตรกร
(เลี้ยงนกกระทา)
จังหวัดนครสวรรค?
สํานักงาน
พลังงานจังหวัดนครสวรรค?
และสํานักงานเกษตร
จังหวัดนครสวรรค?
มหาวิทยาลัย
ราชภัฏนครสวรรค?
นําลูกนกมาเลี้ยงในกรงกก เพื่อให?ความอบอุ?นจะใช?หลอดไฟฟ?าขนาด 60 วัตต? แขวนไว? ในกรงกก ให?
สูงจากพื้นประมาณ 30 ซม. แต?ถ?าสังเกตว? าลูกนกหนาวควรจะเปลี่ยนหลอดไฟเป? นขนาด 100 วั ตต? หากใช? ตะเกี ยงก็
ตั้งไว?บนพื้นกรง ปกติแล?วจะกกลูกนกเพียงแค? 1 - 2 สัปดาห?เท?านั้น แต?ทั้งนี้ให?สังเกตที่ตัวลูกนกและอุณหภูมิภายนอก
ด?วย
การให?อาหาร จะใช?อาหารสําเร็จรูปเลี้ยงลูกนกหรือจะผสมอาหารเองก็ได? โดยให?มีโปรตี นประมาณ
24 -28 % หรือจะใช?อาหารไก?งวงก็ได?
การให? น้ํ าใช? น้ํ าสะอาดใส?ในที่ให? น้ํ าและใสกรวดเล็ กๆลงในจานน้ํ าด? วย ในระย ะ 3–7 วั นแรกควร
ละลายพวกยาปฎิชีวนะผสมน้ําให?ลูกนกกินจะช?วยให?เจริญเต |
ทฤษฎี สมมุติฐาน กรอบแนวความคิด : | 1.พันธุ?นกกระทา
นกกระทาที่นิยมเลี้ยงคือ นกกระทาพันธุ?ญี่ปุ?น (Japanese quail) หรื อมีชื่อทางวิทยาศาสตร?ว? า (Courunix
japonica )ซึ่งมีด?วยกัน 3 สี คือ สีลายดําประขาว สีทอง และสีขาว แต?นกทุกชนิดสีจะให?ไข?ที่มี สีเปลือกไข?เหมือนกัน
คือ ลายประ
การเริ่มต?นเลี้ยงนกกระทา สามารถดําเนินการได? 2 แบบดังนี้
1. ซื้อลูกนก หรือนกใหญ?มาเลี้ยง
2. ซื้อไข?มีเชื้อมาฟ?กเอง
วิธีการเลี้ยงและดําเนินการจะบรรลุผลตามที่ต?องการหรือไม?นั้น ผู? เลี้ ยงจะต? องรู? จั กคั ดเลื อกพ?อแม?พั นธุ ? ที่ดี ที่
สามารถถ?ายทอดไปสู?รุ?นลูกหลานต?อไปได? ซึ่งลั กษณะที่ควรพิ จารณาคื อ ลั กษณะการเจริ ญเติ บโต การให? ผลผลิ ตไข?
เป?นต?น
2.การเลี้ยงดูและการให?อาหารนกกระทา
1. การเลี้ยงดูลูกนกตั้งแต?แรกเกิด จนถึง 15 วัน
เมื่อลู กนกฟ? กออกจากไข?หมดแล? ว สั งเกต ดู เมื่อเห็ นว?าขนแห? งดี แล? ว จึ งค?อยนํ าออกมาจากตู? เกิ ด
นํามาเลี้ยงในกรงกกลูกนก พื้นกรงควรปูรองด?วยกระสอบ ไม?ควร ใช? กระดาษหนั งสื อพิ มพ? หรื อกระดาษถุ งอาหารปู
รองเพราะจะทําให?ลูกนกลื่นเกิดขาถ?างหรือขาพิการได? โดยเฉลี่ยแล?วน้ําหนักตัวลูกนกเมื่ออายุ 1 วันจะหนัก ประมาณ
6.75 - 7.0 กรัม
ได? ต? นแบบ เครื่องฟ? กไข?เทอร? โมอิ เล็ กทริ ก
โดยใช? ระบบลู กกลิ้ ง สํ าหรั บการเลี้ ยงนก
กระทาในจังหวัดนครสวรรค? ที่สามารถลด
การใช? พลั งงานไฟฟ? าและลดต? นทุนการ
เลี้ยงนกกระทาให?มีประสิทธิภาพมากขึ้น
- พัฒนาการใช?เทคโนโลยีพลั งงาน
สะอาด (Clean Energy) และ
เทคโนโลยีพลังงานหมุนเวียน
(Renewable Energy)
- ลดปริมาณการใช?เชื้ อเพลิง
- ลดต?นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพ
การทํานาข? าวของเกษตรกร
การพัฒนาเครื่องฟ? กไข?เทอร?โมอิเล็กทริก
โดยใช? ระบบลูกกลิ้ง สําหรับการเลี้ยง
นกกระทาในจังหวัดนครสวรรค?
เกษตรกร
(เลี้ยงนกกระทา)
จังหวัดนครสวรรค?
สํานักงาน
พลังงานจังหวัดนครสวรรค?
และสํานักงานเกษตร
จังหวัดนครสวรรค?
มหาวิทยาลัย
ราชภัฏนครสวรรค?
นําลูกนกมาเลี้ยงในกรงกก เพื่อให?ความอบอุ?นจะใช?หลอดไฟฟ?าขนาด 60 วัตต? แขวนไว? ในกรงกก ให?
สูงจากพื้นประมาณ 30 ซม. แต?ถ?าสังเกตว? าลูกนกหนาวควรจะเปลี่ยนหลอดไฟเป? นขนาด 100 วั ตต? หากใช? ตะเกี ยงก็
ตั้งไว?บนพื้นกรง ปกติแล?วจะกกลูกนกเพียงแค? 1 - 2 สัปดาห?เท?านั้น แต?ทั้งนี้ให?สังเกตที่ตัวลูกนกและอุณหภูมิภายนอก
ด?วย
การให?อาหาร จะใช?อาหารสําเร็จรูปเลี้ยงลูกนกหรือจะผสมอาหารเองก็ได? โดยให?มีโปรตี นประมาณ
24 -28 % หรือจะใช?อาหารไก?งวงก็ได?
การให? น้ํ าใช? น้ํ าสะอาดใส?ในที่ให? น้ํ าและใสกรวดเล็ กๆลงในจานน้ํ าด? วย ในระย ะ 3–7 วั นแรกควร
ละลายพวกยาปฎิชีวนะผสมน้ําให?ลูกนกกินจะช?วยให?เจริญเต |
วิธีการดำเนินการวิจัย และสถานที่ทำการทดลอง/เก็บข้อมูล : | 1.ศึกษาปัญหาของเครื่องฟักไข่นกกระทาที่ใช้อยู่ปัจจุบัน
2.ออกแบบเครื่องฟักไข่เทอร์โมอิเล็กทริกโดยใช้ระบบลูกกลิ้ง ดังนี้
2.1) โครงสร้างตู้ฟักไข่
2.2) ระบบลูกกลิ้ง
2.3) ระบบมอเตอร์และเฟืองทด
2.4) ขนาดเทอร์โมอิเล็กทริก
2.5) ระบบควบคุมอุณหภูมิและความชื้น
3.สร้างเครื่องต้นแบบเครื่องฟักไข่เทอร์โมอิเล็กทริกโดยใช้ระบบลูกกลิ้ง
4.ทดสอบการทำงานของตู้ฟักไข่นกกระทาอัตโนมัติ โดยใช้ระบบลูกกลิ้ง ดังนี้
4.1) การหมุนของระบบลูกกลิ้ง
4.2) ระบบการควบคุมอุณหภูมิและความชื้น
4.3) วิเคราะห์การใช้พลังงานของตู้ฟักไข่
5.หาประสิทธิภาพเครื่องฟักไข่เทอร์โมอิเล็กทริกโดยใช้ระบบลูกกลิ้ง
6.ประเมินทางเศรษฐศาสตร์ของเครื่องฟักไข่เทอร์โมอิเล็กทริกโดยใช้ระบบลูกกลิ้ง
7.จัดทำรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
คำอธิบายโครงการวิจัย (อย่างย่อ) : | 1.ศน กษาปพ ญหาของเครร องฟพ กไขขนกกระทาทล รใชช อยล ขปพ จจย บพ น
2.ออกแบบเครร องฟพ กไขขเทอรร โมออเลล กทรอ กโดยใชช ระบบลล กกลอ ล ง ดพ งนล
2.1) โครงสร ช างตล ช ฟพ กไขข
2.2) ระบบลล กกลอ ล ง
2.3) ระบบมอเตอรร และเฟร องทด
2.4) ขนาดเทอรร โมออเลล กทรอ ก
2.5) ระบบควบคย มอย ณหภล มอ และความชร ล น
3.สรช างเครร องตช นแบบเครร องฟพ กไขขเทอรร โมออเลล กทรอ กโดยใชช ระบบลล กกลอ ล ง
4.ทดสอบการทส างานของตล ช ฟพ กไขขนกกระทาอพ ตโนมพ ตอ โดยใชช ระบบลล กกลอ ล ง ดพ งนล
4.1) การหมย นของระบบลล กกลอ ล ง
4.2) ระบบการควบคย มอย ณหภล มอ และความชร ล น
4.3) วอเคราะหร การใชช พลพ งงานของตล ช ฟพ กไขข
5.หาประสอ ทธอ ภาพเครร องฟพ กไขขเทอรร โมออเลล กทรอ กโดยใชช ระบบลล กกลอ ล ง
6.ประเมอ นทางเศรษฐศาสตรร ของเครร องฟพ กไขขเทอรร โมออเลล กทรอ กโดยใชช ระบบลล กกลอ ล ง
7.จพ ดทส ารายงานการวอจพ ยฉบพ บสมบล รณ |
จำนวนเข้าชมโครงการ : | 2129 ครั้ง |