รายละเอียดโครงการวิจัย
กลับไปหน้าโครงการวิจัยทั้งหมด

รหัสโครงการ :R000000248
ชื่อโครงการ (ภาษาไทย) :มันสำปะหลังของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 2 (นครสวรรค์ กำแพงเพชร พิจิตรและอุทัยธานี)
ชื่อโครงการ (ภาษาอังกฤษ) :Development of logistics system for performance and potential production increase of cassava in Lower Northern Region 2 (Nakhon Sawan, Kamphaeng Phet, Phichit and Uthai Thani)
คำสำคัญของโครงการ(Keyword) :-
หน่วยงานเจ้าของโครงการ :คณะวิทยาการจัดการ
ลักษณะโครงการวิจัย :แผนงานวิจัย/ชุดโครงการวิจัย
ลักษณะย่อยโครงการวิจัย :-
ประเภทโครงการ :โครงการวิจัยใหม่
สถานะของโครงการ :propersal
งบประมาณที่เสนอขอ :1482000
งบประมาณทั้งโครงการ :1,482,000.00 บาท
วันเริ่มต้นโครงการ :11 พฤศจิกายน 2558
วันสิ้นสุดโครงการ :10 พฤศจิกายน 2559
ประเภทของโครงการ :งานวิจัยประยุกต์
กลุ่มสาขาวิชาการ :สังคมศาสตร์
สาขาวิชาการ :อื่นๆ
กลุ่มวิชาการ :อื่นๆ
ลักษณะโครงการวิจัย :ระดับชาติ
สะท้อนถึงการใช้ความรู้เชิงอัตลักษณ์ : สะท้อนถึงการใช้ความรู้เชิงอัตลักษณ์
สร้างความร่วมมือประหว่างประเทศ GMS : ไม่สร้างความร่วมมือทางการวิจัยระหว่างประเทศ
นำไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา :ไม่นำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาณภาพการศึกษา
เกิดจากความร่วมมือกับภาคการผลิต : ไม่เกิดจากความร่วมมือกับภาคการผลิต
ความสำคัญและที่มาของปัญหา :มันสำปะหลัง เป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญต่อการส่งออกของประเทศไทย มีปริมาณการส่งออก มากเป็นอันดับที่ 2 รองจากข้าวและยางพารา มันสำปะหลังสามารถนำรายได้ เข้าประเทศปีละไม่ต่ำกว่า 2 หมื่นล้านบาท และผูกพันกับเกษตรกรไม่น้อยกว่า 6 ล้านคน ที่มีอำชีพเพาะปลูกมันสำปะหลัง ซึ่งสามารถ มีผลผลิตรวม ปี 2557 จำนวน 27.54 ล้านตัน โดยผลผลิตเฉลี่ยเพิ่มขึ้นจากปี 2555/2556 จาก 3.47 เป็น 3.59 ตันต่อไร่ นอกจากนี้ ในช่วงปี 2555-2557 พื้นที่ เก็บเกี่ยวมีแนวโน้ม เพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 7.20 เนื่องจากจากการปรับเพิ่มขึ้นของราคาน้ำมัน ทำให้มันสำปะหลังมี ราคาสูงขึ้นจูงใจเกษตรกรที่ปลูกพืชชนิด อื่นๆ หันมาปลูกมันสำปะหลังกันเพิ่มมากขึ้น (สมาคมโรงงานผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังหลังไทย, 2557) การผลิต มันสำปะหลังส่วนใหญ่ ของไทย ประ มา ณ มา ก กว่า ร้อยละ 50 ของผลผลิตทั้งหมด มาจาก ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ รองลงมา คือ ภาคกลางประมาณร้อยละ 33 และภาคเหนือประมาณร้อย ละ 15 แต่ ภาค กลางเป็น ภาคที่ ให้ผลผลิตต่อไร่ สูงที่ สุด ส่วน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็น ภาคที่ มีพื้นที่ ปลูก มัน สำปะหลังมากที่ สุด โดยจังหวัดที่ เป็นแหล่งเพาะปลูกที่สำคัญ ได้แก่ นครราชสี มา ฉะเชิงเทรำ สระแก้ว ก ำแพงเพชร นครสวรรค์ อุทัยธานีและชัยภูมิ ตามล ำ ดับ (คณะ สำรวจ ภาวะการผลิตและการค้า มัน สำปะหลัง,2557) หากพิจารณากระบวนการผลิตตั้งแต่ต้นน้ำจนถึงปลายน้ำการผลิตและการเคลื่อนยาย มัน สำปะหลังส่วนใหญ่มักจะใช้รถบรรทุกขนส่ง โดยขนาดรถบรรทุกจะขึ้นอยู่กับปริมาณสินค้าที่ขนส่งใน ส่วนของเกษตรกร มักใช้รถอีแต๋น หรือรถบรรทุกขนาดเล็กขนาดไม่เกิน 6 ล้อ เพื่อขนส่งสินค้าไปยังจุดรับ ซื้อ เช่น ลานมัน หรือโรงแป้ง เนื่อง จาก ระบบคมนำ คมของไทยค่อน ข้าง มีประสิทธิ ภาพ ในปัจจุบัน เกษตรกร จึงมักขนสินค้าไปขายเองที่ ลานมันหรือโรงแป้ง ไม่ค่อยขายผ่านพ่อค้าคนกลาง เพื่อไม่ให้เสียส่วน ต่างที่ พ่อค้าคนกลางจะเก็บ แต่บางรายที่ไม่มีรถไถในการเก็บเกี่ยว ก็มักจะขายหัวมันฯ แบบเหมาไร่ โดย ผู้รับเหมาจะจ่ายเงินให้เกษตรกรเป็นราคาเหมาต่อไร่ และจะดำเนินการเก็บเกี่ยวขนหัวมันขึ้นรถ และนำไป ส่งที่ โรงงาน เอง เนื่อง จากเกิดปัญหาการขาดแคลนแรงงาน ขุด ซึ่งคิดเป็นต้นทุนหลักของ การ ปลูกมัน สำปะหลัง (ประมาณร้อยละ 50 ของต้นทุนทั้งหมด) และมีแนวโน้มของปัญหาที่ เพิ่มขึ้น (TDRI, 2553) เฉกเช่นเดียวกับกลุ่มจังหวัด ภาคเหนือตอนล่าง 2 (นครสวรรค์ กำแพงเพชร พิจิตรและอุทัย ธานี) ที่ เป็น แหล่งผลิตมัน สำปะหลังที่สำคัญของประเทศ และถือได้ ว่าเป็นพืชเศรษฐกิจ สำคัญที่สร้างมูลค่ำทางด้าน เศรษฐกิจและ สร้างรายได้ให้กับกลุ่มจังหวัด ทำให้ การกำหนดตำแหน่งจุดยืนทิศ ทางของ ยุทธศาสตร์ (Positioning) ตามแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด แผนพัฒนาจังหวัด 4 ปี (พ.ศ. 2557 – 2560) ไว้ อย่างชัดเจน โดยได้ การกำหนดให้กลุ่มจังหวัดเป็นศูนย์ กลางทางการค้าสินค้าการเกษตรของภูมิ ภาคที่ประกอบไปด้วย ข้าว อ้อยและมันสำปะหลังหลัง อย่างไรก็ดี เมื่อปัญหาและทิศทางการพัฒนาดังกล่าวข้างต้น คณะผู้วิจัยเห็นว่า การพิจารณาระบบโลจิสติกส์ ขาเข้า (Inbound Logistics) มีส่วนที่สามารถใช้เป็น แนวทางใน การแก้ไข ปัญหา เพราะระบบโลจิสติกส์มีกระบวนการสำคัญที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ การเพาะปลูกมันสำปะหลังหลัง การดูแล รักษา การเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังหลัง การขนส่งมันสำปะหลังหลังจากไร่ มายังโรงงาน และการ บริหารจัดการหน้า 4 ลาน ของโรงงาน ซึ่งกระบวน การต่างๆเหล่านี้ ถือเป็นส่วนหนึ่งของห่วงโซ่ คุณ ค่า (Value Chain) ของ อุตสาหกรรมมันสำปะหลังหลัง ที่มี ความสำคัญต่อต้นทุนการผลิตโดยตรง จะสังเกตได้ ว่า การขนยายผลผลิต มันสำปะหลังหลังอาศัยระบบการขนส่งทางถนนเป็นหลัก ซึ่งมีต้นทุนโลจิสติกส์สูง เมื่อเปรียบเทียบกับมูลค่า ของสินค้า เนื่องจากพื้นที่เพาะปลูกกระจายอยู่ในบริเวณกว้าง กอรปกับเกษตรกรมี การขาย ผลผลิตผ่าน การรวบรวมโดยพ่อค้าคนกลาง/ลานมัน โดยที่เกษตรกรมี อำนาจต่อรองต่ำ อันเนื่องมาจากการขาดแคลน ลานตากของเกษตรกร ทำให้เป็นอุปสรรคต่อการรักษาคุณภาพของมันสำปะหลังหลัง และการเก็บรักษา จนก่อ เกิดทำให้ การขนส่งหัวมันสดที่มี น้ำ ประมาณร้อยละ 60 จากฟาร์มถึงโรงงานเป็นภาระในการจัดการของ โรงงาน(TDRI,2553) ดังนั้นคณะผู้วิจัยจึงได้ตระหนักและเล็งเห็นของ การพัฒนาระบบโลจิสติกส์เพื่อเพิ่ม ประสิทธิ ภาพและศักยภาพทางการผลิตมันสำปะหลังหลังของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 2 (นครสวรรค์ กำแพงเพชร พิจิตรและอุทัยธานี) ที่ จะสามารถใช้เป็นแนว ทางใน การ พัฒนาและการบริหารจัด การ โครง สร้างพื้น ฐานโลจิสติกส์ให้มีประสิทธิ ภาพ เพื่อลดต้นทุน การผลิตการเก็บเกี่ยวและ การ ขนส่งมัน สำปะหลังเข้าสู่โรงงานอุตสาหกรรม รวมทั้งการจัดการระบบการผลิตที่มีประสิทธิ ภาพสูงและสอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์ การวิจัยที่สามารถพัฒนาประเทศ โดยการมุ่งสู่การสร้างศักยภาพและความสามารถเพื่อการ พัฒนาทางเศรษฐกิจ โดย การสร้างมูลค่าผลผลิตทางการเกษตรและการพัฒนาศักยภาพในการแข่งขันและ การ พึ่งพาตนเองของสิน ค้าเกษตรให้ สามารถเพิ่มประสิทธิ ภาพด้าน การ จัด การ เก็บเกี่ยวผลผลิต ทาง การเกษตรได้ อย่างยั่งยืน
จุดเด่นของโครงการ :-
วัตถุประสงค์ของโครงการ :1 เพื่อศึกษาศักยภาพทางการผลิตมันสำปะหลังและ การ เชื่อมโยงระบบโลจิสติกส์ที่ สามารถเพิ่มประสิทธิ ภาพทางการผลิตมันสำปะหลังหลังของกลุ่มจังหวัด ภาคเหนือตอนล่าง 2 (นครสวรรค์ ก ำแพงเพชร พิจิตรและอุทัยธานี) 2 เพื่อวิเคราะห์และการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ ขำเข้าสำหรับการเก็บเกี่ยวและขนส่งผลผลิต มันสำปะหลังหลังเพื่อลดต้นทุนทางการผลิตสินค้าทางการเกษตรและสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ การพัฒนากลุ่ม จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 2 3 เพื่อศึกษาสร้างรูปแบบการจัดกลุ่มเกษตรกรและเลือกทำเลที่ตั้งสำหรับพักมัน สำปะหลังที่ ส่งผลให้เกิดต้นทุนใน การจัดการแรงงานที่ ต่ำที่ สุดโดยคงไว้ซึ่งความเหมาะสมทั้งใน ด้านปริมาณและคง คุณภาพ 4 เพื่อศึกษารูปแบบและแนว ทางการจัด การความ สัมพันธ์ที่ มีผลต่อ ความ ร่วมมือใน การ จัด การโลจิสติกส์ ขำเข้า ของผลผลิตมัน สำปะหลังเพื่อเพิ่ม ความ สามารถใน การแข่งขันของสิน ค้าทาง การเกษตร
ขอบเขตของโครงการ :-
ผลที่คาดว่าจะได้รับ :-
การทบทวนวรรณกรรม/สารสนเทศ :-
ทฤษฎี สมมุติฐาน กรอบแนวความคิด :-
วิธีการดำเนินการวิจัย และสถานที่ทำการทดลอง/เก็บข้อมูล :-
คำอธิบายโครงการวิจัย (อย่างย่อ) :-
จำนวนเข้าชมโครงการ :2173 ครั้ง
รายชื่อนักวิจัยในโครงการ
ชื่อนักวิจัยประเภทนักวิจัยบทบาทหน้าที่นักวิจัยสัดส่วนปริมาณงาน(%)
นายมานิตย์ สิงห์ทองชัย บุคลากรภายในมหาวิทยาลัยหัวหน้าโครงการวิจัย30
นางสาวปรียานันท์ โพธิ์ศิรวัฒน์ บุคลากรภายในมหาวิทยาลัยเลขานุการโครงการ5
นางสาวจิรพร จรบุรี บุคลากรภายในมหาวิทยาลัยผู้ประสานงาน5
นางสาวสิริกาญจน์ สิงห์ทองชัย บุคลากรภายในมหาวิทยาลัยผู้ประสานงาน5
นายรติบดี สิทธิปัญญา บุคลากรภายในมหาวิทยาลัยผู้ประสานงาน5
นายมนตรี ไชยานุกูลกิตติ บุคลากรภายในมหาวิทยาลัยผู้ประสานงาน5

กลับไปหน้าโครงการวิจัยทั้งหมด