รายละเอียดโครงการวิจัย
กลับไปหน้าโครงการวิจัยทั้งหมด

รหัสโครงการ :R000000245
ชื่อโครงการ (ภาษาไทย) :แบบจำลองไข้เลือดออก
ชื่อโครงการ (ภาษาอังกฤษ) :Simulationofdengue
คำสำคัญของโครงการ(Keyword) :-
หน่วยงานเจ้าของโครงการ :คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ลักษณะโครงการวิจัย :โครงการวิจัยเดี่ยว
ลักษณะย่อยโครงการวิจัย :ไม่อยู่ภายใต้แผนงานวิจัย/ชุดโครงการวิจัย
ประเภทโครงการ :โครงการวิจัยใหม่
สถานะของโครงการ :propersal
งบประมาณที่เสนอขอ :479000
งบประมาณทั้งโครงการ :479,000.00 บาท
วันเริ่มต้นโครงการ :11 พฤศจิกายน 2558
วันสิ้นสุดโครงการ :10 พฤศจิกายน 2559
ประเภทของโครงการ :งานวิจัยพื้นฐาน(ทฤษฎี)/บริสุทธิ์
กลุ่มสาขาวิชาการ :วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ
สาขาวิชาการ :สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์
กลุ่มวิชาการ :แพทย์ศาสตร์สาธารณสุข
ลักษณะโครงการวิจัย :ระดับชาติ
สะท้อนถึงการใช้ความรู้เชิงอัตลักษณ์ : สะท้อนถึงการใช้ความรู้เชิงอัตลักษณ์
สร้างความร่วมมือประหว่างประเทศ GMS : ไม่สร้างความร่วมมือทางการวิจัยระหว่างประเทศ
นำไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา :ไม่นำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาณภาพการศึกษา
เกิดจากความร่วมมือกับภาคการผลิต : ไม่เกิดจากความร่วมมือกับภาคการผลิต
ความสำคัญและที่มาของปัญหา :กว่าทศวรรษที่ผ่านมาไข้เลือดออกได้มีการแพร่กระจายอย่างกว้างขวางไปทั่วโลกและได้รับการจัดให้เป็นโรคที่แพร่กระจายอย่างรวดเร็วที่สุดโดยองค์กรอนามัยโลกกว่า40%ของประชากรโลกหรือ2.5พันล้านคนมีความเส ี่ยงในการติดเชื้อ ไข้เลือดออกและไข้เลือดออกยังเป็นโรคที่สร้างความเจ็บป่วยแก่ประชากรในหลายประเทศได้มีการประมาณการว่ามีผู้ป่วยไข้เลือดออก50ถึง100ล้านคนต่อปีไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อด้วยเชื้อไวรัสซึ่งพบมากในเขตร้อนและเขตกึ่ง ร้อนทั่วโลกไวรัสของไข้เลือดออกมีทั้งหมดสี่สายพันธุ์ได้แก่DEN-1DEN-2DEN-3และDEN-4ซึ่งเป็นสาเหตุของโรคไข้เลือดออกการติดเชื้อไข้เลือดออกสามารถจำแนกออกได้สามชนิดได้แก่โรคไข้แดงกี(DF)โรคไข้เลือดออก(DHF)และ ไข้เลือดออกช็อก(DSS)ประเทศไทยเป็นประเทศที่ตั้งอยู่ในเขตร้อนซึ่งคนในประเทศต้องเผชิญปัญหาที่เกิดจากยุงยุงเป็นแมลงที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพต่อประชากรไทยด้วยสถานที่ตั้งทางภูมิศาสตร์และสภาพอากาศในเขตร้อนดังนั้นจึงเป็นปัจจัยหนุนให้เกิดการแพร่ขยายพันธุ์ยุงการถูกกัดด้วยยุงตัวเมียสามารถนาไปสู่โรคต่างๆได้เช่นไข้เหลืองมาลาเรียชิคุกุนยาและไข้เลือดออกเป็นต้นซึ่งไข้เลือดนั้นนับว่าเป็นเป็นโรคระบาดที่สำคัญตามรายงานของสานักระบาดวิทยาเป็นเวลาหลายปีไข้เลือดออกได้มีการตรวจพบในประเทศไทยครั้งแรกเมื่อปี 2493หลังจากนั้น5ปี ไข้เลือดออกได้แพร่กระจายไปยังเขตกรุงเทพและธนบุรีและท้ายที่สุดได้มีการแพร่กระจายของไข้เลือดออกอย่างรวดเร็วไปทั่วทั้งประเทศโดยเฉพาะในเขตที่มีประชากรในพื้นที่ที่หนาแน่ไข้เลือดออกเป็นโรคหนึ่งที่กระทรวงสาธารณสุขของไทยได้ให้ความสำคัญและในปี2555ได้มีผู้เสียชีวิตจากไข้เลือดออกเป็นจานวน79คนและมีผู้ป่วยติดเชื้อมากกว่า74,000คนในเขตสคร.ที่8รายงานผู้ติดเชื้อในสัปดาห์ที่37ของปี2557โดยสานักโรคติดต่อนาโดยแมลงมีผู้ป่วยทั้งส ิ้น10,642คนเสียชีวิตแล้ว14ซึ่งจานวนผู้ป่วยนั้น เป็นลาดับที่6และจานวนผู้เสียชีวิตนั้นเป็นลาดับที่4ของประเทศและจังหวัดนครสวรรค์เป็นจังหวัดที่มีจานวนผู้ป่วยสูงสุดในเขตสคร.ที่8ในพื้นที่ที่มีการแพร่กระจายของไข้เลือดออกเป็นประจานั้นไข้เลือดออกถือว่าเป็นปัญหาสำคัญในประเทศเขตร้อนมากที่สุดโรคหนึ่งแบบจาลองการระบาดของโรคจึงเป็นเครื่องมือสำคัญในการเฝ้าติดตามโรคในพื้นที่เฉพาะต่างๆการใช้แบบจาลองสามารถพยากรณ์การแพร่ระบาดซึ่งจะเป็นข้อมูลที่ใช้ในการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคต่อไป
จุดเด่นของโครงการ :-
วัตถุประสงค์ของโครงการ :1.สร้างเครื่องมือใหม่เพื่อใช้ในการจาลองการเกิดไข้เลือดด้วยปัจจัยต่างๆที่เกื้อหนุนให้เกิดการระบาดของโรค 2.เพื่อสร้างเครื่องมือใหม่ให้กับนักสาธารสุขนาไปวางแผนการป้องกันไข้เลือดออก 3.สร้างเครื่องมือใหม่ที่ยอมให้นักสาธารสุขปรับแต่งปัจจัยการเกิดโรคเช่นการเพิ่มปริมาณประชากรยุงและปัจจัยการป้องกันโรคเช่นการใช้สารเคมีควบคุมปริมาณประชากรยุงหรือการกาจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงเพื่อนาผลการศึกษาที่ได้ไป ประยุกต์ใช้กับการควบคุมโรคต่อไป
ขอบเขตของโครงการ :-พื้นที่สคร.8นครสวรรค์ประกอบด้วยนครสวรรค์อุทัยธานีกาแพงเพชรพิจิตรและชัยนาท -ด้านข้อมูลกระทรวงมหาไทยสาหรับรายละเอียดเกี่ยวกับจานวนประชากรเขตจังหวัดอำเภอและตาบลสานักโรคติดต่อนาโดยแมลงสาหรับข้อมูลจานวนผู้ป่วยในแต่ละพื้นที่สถิติการสารวจจานวนตัวโม่งของยุงสัดส่วนของเชื้อไวรัสไข้เลือดออกทั้ง4ประเภทกรมอุตุนิยมวิทยาสาหรับข้อมูลทางด้านสภาพอากาศ -ด้านเวลา ปีงบประมาณพ.ศ.2559
ผลที่คาดว่าจะได้รับ :-
การทบทวนวรรณกรรม/สารสนเทศ :-
ทฤษฎี สมมุติฐาน กรอบแนวความคิด :-
วิธีการดำเนินการวิจัย และสถานที่ทำการทดลอง/เก็บข้อมูล :-
คำอธิบายโครงการวิจัย (อย่างย่อ) :-
จำนวนเข้าชมโครงการ :422 ครั้ง
รายชื่อนักวิจัยในโครงการ
ชื่อนักวิจัยประเภทนักวิจัยบทบาทหน้าที่นักวิจัยสัดส่วนปริมาณงาน(%)
นายถิรภัทร มีสำราญ บุคลากรภายในมหาวิทยาลัยหัวหน้าโครงการวิจัย100

กลับไปหน้าโครงการวิจัยทั้งหมด