รายละเอียดโครงการวิจัย
กลับไปหน้าโครงการวิจัยทั้งหมด

รหัสโครงการ :R000000244
ชื่อโครงการ (ภาษาไทย) :การออกแบบระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการวางแผนจัดเตรียมบุคลากรและอุปกรณ์เพื่อรับมือภัยพิบัติในอำเภอลาดยาวจังหวัดนครสวรรค์
ชื่อโครงการ (ภาษาอังกฤษ) :DECISIONSUPPORTSYSTEMDESIGNEDFORSTAFFANDEQUIPMENTPREPAREDNESSPLANNINGTODISASTERINLATYAODISTRICTNAKHONSAWANPROVINCE
คำสำคัญของโครงการ(Keyword) :-
หน่วยงานเจ้าของโครงการ :คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
ลักษณะโครงการวิจัย :โครงการวิจัยเดี่ยว
ลักษณะย่อยโครงการวิจัย :ไม่อยู่ภายใต้แผนงานวิจัย/ชุดโครงการวิจัย
ประเภทโครงการ :โครงการวิจัยใหม่
สถานะของโครงการ :propersal
งบประมาณที่เสนอขอ :499500
งบประมาณทั้งโครงการ :499,500.00 บาท
วันเริ่มต้นโครงการ :11 พฤศจิกายน 2558
วันสิ้นสุดโครงการ :10 พฤศจิกายน 2559
ประเภทของโครงการ :งานวิจัยประยุกต์
กลุ่มสาขาวิชาการ :วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี
สาขาวิชาการ :สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย
กลุ่มวิชาการ :วิศวกรรมอุสาหกรรมวิจัย
ลักษณะโครงการวิจัย :ระดับชาติ
สะท้อนถึงการใช้ความรู้เชิงอัตลักษณ์ : สะท้อนถึงการใช้ความรู้เชิงอัตลักษณ์
สร้างความร่วมมือประหว่างประเทศ GMS : ไม่สร้างความร่วมมือทางการวิจัยระหว่างประเทศ
นำไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา :ไม่นำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาณภาพการศึกษา
เกิดจากความร่วมมือกับภาคการผลิต : ไม่เกิดจากความร่วมมือกับภาคการผลิต
ความสำคัญและที่มาของปัญหา :ในปัจจุบันที่โลกประสบกับปรากฏการณ์โลกร้อน(Globalwarming)เนื่องจากการกระทำของมนุษย์นั้นทำให้อุณหภูมิเฉลี่ยของอากาศใกล้พื้นผิวโลกและน้ำในมหาสมุทรเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทำให้เกิดการภัยพิบัติ(Disaster)ตามมาซึ่งส่งผลกระทบต่อมนุษย์อย่างหลีกเลี่ยงไม่โดยทั่วไปภัยพิบัติที่เกิดขึ้นนั้นสามารถจำแนกออกเป็น2ประเภทหลักๆคือคือภัยพิบัติที่มนุษย์กระทำขึ้น(Man-MadeDisasters) และภัยพิบัติทางธรรมชาติ(NaturalDisasters)ซึ่งใน5ทศวรรษที่ผ่านมามนุษย์ต้องเผชิญกับภัยพิบัติ ทางธรรมชาติเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่องและมีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นโดยในทศวรรษแรกมนุษย์เผชิญกับ ภัยพิบัติทางธรรมชาติ13ครั้งแต่ในช่วงทศวรรษสุดท้ายมนุษย์เผชิญกับภัยพิบัติทางธรรมชาติมากถึง72 ครั้งและมีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น(กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม,2556)แน่นอนว่าประเทศไทยยอม ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในปรากฏการณ์โลกร้อนด้วยเช่นกันตัวอย่างเช่นการเกิดพำยุหมุน เขตร้อนที่มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นการเกิดภัยแล้งภัยหนาวที่ยาวนานขึ้นรวมถึงอุทกภัยที่รุนแรงมากขึ้นภัย พิบัติทางธรรมชาติต่างๆเหล่านี้ล้วนสร้างความเสียหายให้กับสภาพเศรษฐกิจสังคมสิ่งแวดล้อมและ สภาพการดำรงชีพในชีวิตประจำวันของประชาชนผู้ที่ประสบภัยซึ่งคิดเป็นมูลค่ามหาศาลสามารถสรุปได้ว่าภัยพิบัติทางธรรมชาติด้านอุทกภัยนั้นเป็นภัยพิบัติที่ สร้างความเสียหายทางเศรษฐ์กิจสูงสุดเป็นอันดับ1ดังภาพที่1และมีผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตมากเป็น อันดับ2ดังภาพที่2ลองจากสึนามิที่มีผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตสูงสุดเป็นอันดับ1ดังภาพที่2เนื่องจาก ประเทศไทยไม่เคยเกิดภัยพิบัติในลักษณะนี้มาก่อนจึงไม่มีการเตรียมวางแผนรับมือเช่นเดี่ยวกับวาตภัยที่มี ความถี่ในการเกิดมากและพบกระทบความเสียหายทางเศรษฐ์กิจเป็นอันดับ3ดังภาพที่1และมีผู้บาดเจ็บ และเสียชีวิตมกเป็นอันดับ3ดังภาพที่2ส่วนภัยแล้งนั้นไม่มีการบันทึกข้อมูลในการเกิดภัยพิบัติลักษณะ นี้แต่มีผลกระทบความเสียหายทางเศรษฐ์กิจเป็นอันดับ2ดังภาพที่1 ซึ่งจังหวัดนครสวรรค์ก็เป็นพื้นที่หนึ่งที่ได้รับผลกระทบทางภัยพิบัติอยู่บ่อยครั้งไม่ว่าจะเป็น อุทกภัยภัยแล้งวาตภัยเช่นในปีพ.ศ.2550จังหวัดนครสวรรค์ประสบภัยแล้งจำนวน9อำเภอคือท่า ตะโกพยุหคีรีหนองบัวไพศาลีเมืองนครสวรรค์ลาดยาวชุมแสงแม่วงก์บรรพตพิสัยตากฟ้ำจาก ทั้งหมด15อำเภอของจังหวัดนครสวรรค์(กลุ่มงานอนุสัญญาว่าด้วยการต่อต้านการแปรสภาพเป็น ทะเลทราย,2556)ดังภาพที่3และในปีพ.ศ.2554จังหวัดนครสวรรค์ประสบอุทกภัยมากถึง12อำเภอ จาก15อำเภอภายในจังหวัดนครสวรรค์ดังภาพที่4ซึ่งในบางพื้นที่เกิดภัยพิบัติกันอย่างต่อเนื่องเช่น อำเภอลาดยาวในฤดูแล้งพื้นดังกล่าวนี้ได้รับผลกระทบอย่างมากจนถึงน้อยแต่ในฤดูฝนกลับได้รับ ผลกระทบอย่างมากจากการเกิดอุทกภัยและในบางครั้งยังประสบปัญหาน้ำป่าที่ไหลจากอำเภอแม่วงก์เข้าสู้ อำเภอลาดยาวโดยมีพื้นที่การเกษตรได้รับความเสียหายอีกกว่า8,000ไร่(หนังสือพิมพ์เดลินิวส์,14ส.ค. 2556) ในการช่วยลดผลกระทบจากภัยพิบัติที่เกิดขึ้นนั้นต้องดำเนินการตามขั้นตอนของวัฏจักรการ จัดการภัยพิบัติซึ่งมีขั้นตอนการดำเนินการทั้งหมด4ขั้นตอนคือขั้นตอนการเตรียมความพร้อมรับมือภัย พิบัติขั้นตอนการตอบโต้ระหว่างเกิดภัยพิบัติขั้นตอนฟื้นคืนสู่สภาพปกติหลังเกิดภัยพิบัติและขั้นตอนการ วางแผนเพื่อบรรเทาลดผลกระทบจากภัยพิบัติดังภาพที่5(Warfield,C.2005) แต่โดยปกติแล้วในส่วนของการวางแผนรับมือภัยพิบัติ(Preparedness)นั้นมักเกิดจากการ กำหนดแผนจากส่วนกลางส่งลงไปยังพื้นที่(Top-DownManagement)ซึ่งอาจไม่สอดคล้องกับความ ต้องการในพื้นที่หรืออาจเกิดความไม่เหมาะสมกับลักษณะภัยพิบัติลักษณะพื้นที่หรือบุคลำกรและ อุปกรณ์ที่มีอยู่ในพื้นที่นั้นๆทำให้เมื่อเกิดเหตุการณ์ภัยพิบัติขึ้นในพื้นที่นั้นไม่สามารถดำเนินงานได้ตาม แผนรับมือภัยพิบัติที่ได้วางไว้ทำให้เกิดความเสียหายให้ทางชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนในพื้นที่นั้นๆ เป็นอย่างมาก จากสภาพปัญหาที่ได้กล่าวมาในข้างต้นนั้นผู้วิจัยได้ทำการพิจารณาถึงแนวทางในการแก้ไขปัญหา นั้นสามารถทำได้โดยการออกแบบระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการวางแผนจัดเตรียมบุคลำกรและ อุปกรณ์เพื่อรับมือภัยพิบัติโดยการพิจารณาข้อมูลพื้นฐานภายในพื้นที่เป็นตัวกำหนดแผนเช่นจำนวนและ ประวัติประชากรลักษณะภัยพิบัติลักษณะพื้นที่หน่วยงานในพื้นที่ที่รับผิดชอบทักษะของบุคลำกรและ อุปกรณ์ต่างๆโดยทำการศึกษาจากพื้นที่อำเภอลาดยาวจังหวัดนครสวรรค์เป็นแนวทางเนื่องจากเป็น อำเภอที่ประสบภัยพิบัติทั้งอุทกภัยและภัยแล้งในพื้นที่เดี่ยวกันและภัยพิบัติอื่นๆซึ่งได้รับผลกระทบ ค่อนข้างมากกว่าพื้นที่อื่นๆ
จุดเด่นของโครงการ :-
วัตถุประสงค์ของโครงการ :เพื่อพัฒนากระบวนการทางานและออกแบบระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการวางแผนจัดเตรียม บุคลำกรและอุปกรณ์ที่ใช้ในการรับมือภัยพิบัติให้ตรงตามความต้องการในแต่ละพื้นที่ทั้งในด้านจำนวนและ ทักษะของบุคลำกรรวมถึงอุปกรณ์ที่มีความจำเป็น
ขอบเขตของโครงการ :1ขอบเขตด้านเนื้อหา 1.1งานวิจัยนี้ออกแบบเฉพาะส่วนของกระบวนการวางแผนจัดเตรียมบุคลำกรและ อุปกรณ์ที่ใช้ในการรับมือภัยพิบัติในเขตพื้นที่อำเภอลาดยาวจังหวัดนครสวรรค์ 1.2งานวิจัยนี้ทำขึ้นเพื่อศึกษาออกแบบส่วนของกระบวนการทางานและระบบ สารสนเทศฐานข้อมูลรูปแบบหน้าจอโปรแกรม(UserInterface)ขั้นตอนวิธีการ(Algorithm)รวมถึง ขั้นตอนการเขียนโปรแกรม(Coding)รวมถึงการนำไปติดตั้งเพื่อใช้งานจริง(Implementation) 1.3แหล่งข้อมูลที่ทำการศึกษาหลักจากอำสำสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน(อปพร.) และประชาชนในเขตพื้นที่อำเภอลาดยาวจังหวัดนครสวรรค์ 1.4 งานวิจัยนี้ใช้วิธีการเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกการสอบถามผู้เชี่ยวชาญหรือ มีส่วนเกี่ยวข้องร่วมไปถึงการทำแบบสอบถามเพื่อวิเคราะห์ผล 1.5 บุคลำกรและอุปกรณ์จะเรียกแทนว่า“ทรัพยากร” 2 ขอบเขตด้านพื้นที่ อำเภอลาดยาวจังหวัดนครสวรรค์ 3 ขอบเขตระยะเวลา 1กันยายน2559–30กันยายน2560 4 ขอบเขตประชากร ประชากร:ประชาชนและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องในเขตอำเภอลาดยาวจังหวัดนครสวรรค์ กลุ่มตัวอย่าง:ประชาชนและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องในเขตอำเภอลาดยาวจังหวัดนครสวรรค์ จำนวน100คน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ :-
การทบทวนวรรณกรรม/สารสนเทศ :-
ทฤษฎี สมมุติฐาน กรอบแนวความคิด :-
วิธีการดำเนินการวิจัย และสถานที่ทำการทดลอง/เก็บข้อมูล :-
คำอธิบายโครงการวิจัย (อย่างย่อ) :-
จำนวนเข้าชมโครงการ :581 ครั้ง
รายชื่อนักวิจัยในโครงการ
ชื่อนักวิจัยประเภทนักวิจัยบทบาทหน้าที่นักวิจัยสัดส่วนปริมาณงาน(%)
นายปิยะกิจ กิจติตุลากานนท์ บุคลากรภายในมหาวิทยาลัยหัวหน้าโครงการวิจัย50
นายทรงศักดิ์ มะระประเสริฐศักดิ์ บุคลากรภายในมหาวิทยาลัยผู้ร่วมวิจัย15
นางสาวกรรณิการ์ มิ่งเมือง บุคลากรภายในมหาวิทยาลัยผู้ร่วมวิจัย15
นางสาวภริตา พิมพันธุ์ บุคลากรภายในมหาวิทยาลัยผู้ร่วมวิจัย10
นางมาศสกุล ภักดีอาษา บุคลากรภายในมหาวิทยาลัยผู้ร่วมวิจัย10

กลับไปหน้าโครงการวิจัยทั้งหมด