รายละเอียดโครงการวิจัย
กลับไปหน้าโครงการวิจัยทั้งหมด

รหัสโครงการ :R000000160
ชื่อโครงการ (ภาษาไทย) :การศึกษาการยับยั้งการติดเชื้อไวรัสเริมของสมุนไพรและการพัฒนาครีม
ชื่อโครงการ (ภาษาอังกฤษ) :ThestudyofinhibitoryactivitiesofherbsinHerpesSimplexVirusesand thedevelopmentofherbalcreams
คำสำคัญของโครงการ(Keyword) :-
หน่วยงานเจ้าของโครงการ :คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี > ภาควิชาวิทยาศาสตร์ สาขาวิชาชีววิทยา และเทคโนโลยีชีวภาพ
ลักษณะโครงการวิจัย :โครงการวิจัยเดี่ยว
ลักษณะย่อยโครงการวิจัย :ไม่อยู่ภายใต้แผนงานวิจัย/ชุดโครงการวิจัย
ประเภทโครงการ :โครงการวิจัยใหม่
สถานะของโครงการ :propersal
งบประมาณที่เสนอขอ :80000
งบประมาณทั้งโครงการ :80,000.00 บาท
วันเริ่มต้นโครงการ :19 พฤศจิกายน 2556
วันสิ้นสุดโครงการ :18 พฤศจิกายน 2557
ประเภทของโครงการ :งานวิจัยประยุกต์
กลุ่มสาขาวิชาการ :วิทยาศาสตร์การแพทย์
สาขาวิชาการ :สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
กลุ่มวิชาการ :เภสัชเคมีและเภสัชวิเคราะห์
ลักษณะโครงการวิจัย :ระดับชาติ
สะท้อนถึงการใช้ความรู้เชิงอัตลักษณ์ : สะท้อนถึงการใช้ความรู้เชิงอัตลักษณ์
สร้างความร่วมมือประหว่างประเทศ GMS : ไม่สร้างความร่วมมือทางการวิจัยระหว่างประเทศ
นำไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา :นำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาณภาพการศึกษา
เกิดจากความร่วมมือกับภาคการผลิต : ไม่เกิดจากความร่วมมือกับภาคการผลิต
ความสำคัญและที่มาของปัญหา :ปัจจุบันมนุษย์เริ่มกลับมาสนใจผลิตภัณฑ์ธรรมชาติและเริ่มมีการตื่นตัวในการรักษาสุขภาพมากขึ้นเนื่องจาก สมุนไพรมีสรรพคุณมากมายสารเคมีในพืชมีฤทธิ์ป้องกันและต้านจุลินทรีย์ที่ก่อโรคขจัดสารพิษควบคุมระดับ ฮอร์โมนต้านอนุมูลอิสระซึ่งมีบทบาทสำคัญในการยับยั้งหรือต่อต้านการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันอันเป็นสาเหตุในการ เกิดโรคมากมายซึ่งสมุนไพรจากธรรมชาติเหล่านี้มีความหลากหลายทางชีวภาพมากมายประเทศไทยถือได้ว่าเป็น แหล่งที่ระบบนิเวศมีความหลากหลายของพืชสมุนไพรมากมายประชาชนใช้ประโยชน์ในการดารงชีพรวมทั้งนามาใช้ บาบัดรักษาโรคมาเป็นระยะเวลานานชาวบ้านใช้สมุนไพรในการรักษาโรคซึ่งข้อมูลทางพฤกษศาสตร์พื้นบ้านจานวน มากยังไม่มีรายงานสนับสนุนทางวิทยาศาสตร์สมุนไพรจึงเป็นที่สนใจในการศึกษาค้นคว้าวิจัยเนื่องจากในการรักษา โรคบางชนิดยาที่ใช้ต้องนาเข้ามาจากต่างประเทศมีราคาสูงยาที่ใช้เป็นสารสังเคราะห์ที่มีความรุนแรงในการใช้งาน เมื่อใช้เป็นเวลานานอาจเกิดผลข้างเคียงต่อผู้ป่วยทาให้เกิดสารตกค้างเกิดภาวะดื้อยา(พิสุทธิพร,2537)โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในผู้ป่วยภูมิคุ้มกันบกพร่องหรือผู้ป่วยเอดส์จะมีภาวะการติดเชื้อฉวยโอกาสได้ง่ายเช่นเชื้อไวรัสก่อโรคเริม ปัจจุบันมีโรคอุบัติใหม่เกิดขึ้นมากมายโดยเฉพาะจากเชื้อไวรัสดังนั้นงานวิจัยนี้มุ่งศึกษาวิจัยยาต้านไวรัสเริมจาก สมุนไพรธรรมชาติที่มีฤทธิ์ข้างเคียงน้อยสมุนไพรจึงเป็นหนึ่งทางเลือกในการรักษาโรคติดเชื้อไวรัสเพื่อเป็นข้อมูลให้ ประชาชนเข้าใจเกี่ยวกับไวรัสโดยเฉพาะไวรัสก่อโรคเริมซึ่งพบว่ามีอุบัติการณ์สูงและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเมื่อมีการติด เชื้อครั้งแรกอาจแสดงหรือไม่แสดงอาการของโรคแต่จะแฝงอยู่ในปมประสาทรอปัจจัยกระตุ้นต่างๆทั้งนี้ขึ้นกับ ภูมิคุ้มกันของแต่ละบุคคลด้วยเหตุนี้จึงมีความจาเป็นที่ต้องมีการวิจัยและพัฒนายารักษาโรคติดเชื้อขึ้นใช้เองโดยพัฒนาจากรากฐานภูมิปัญญาท้องถิ่นเนื่องจากประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรมมีความหลากหลายทางชีวภาพสูงดังนั้นผู้วิจัยจึงสนใจที่จะนาพืชสมุนไพรซึ่งข้อมูลเบื้องต้นเหล่านี้จะเป็นประโยชน์ให้ประชาชนเข้าใจถึงประโยชน์โทษและการ รักษาเบื้องต้นของโรคติดเชื้อไวรัสอย่างถูกต้องเพื่อเป็นต้นแบบในการพัฒนาต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่นโดยมีข้อมูล ทางวิทยาศาสตร์สนับสนุนการใช้ประโยชน์จากพืชสมุนไพรเพื่อการพึ่งพาตนเองทางด้านยาและช่วยลดค่าใช้จ่ายใน การนาเข้าวัตถุดิบในการผลิตลดการนาเข้ายาจากต่างประเทศสนับสนุนเกษตรกรปลูกพืชสมุนไพรเป็นการสร้าง รายได้สู่ชุมชนทั้งนี้เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์เชิงการค้าเพื่อเป็นการเสริมรายได้ต่อชุมชนอย่างถูกวิธีต่อไป
จุดเด่นของโครงการ :-
วัตถุประสงค์ของโครงการ :1.เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของสมุนไพรบางชนิดเช่นโมกราชินีสังกรณีตาแยแมวโด่ไม่รู้ล้มและชะมวงในการยับยั้งการติดเชื้อไวรัสก่อโรคเริม 2.เพื่อศึกษาความคงตัว(stability)ของครีมสมุนไพรที่มีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อไวรัสก่อโรคเริมในระดับห้องปฏิบัติการ
ขอบเขตของโครงการ :การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยประยุกต์ที่มีขอบเขตของการวิจัยดังนี้ 1ประชากรที่ศึกษาคือพืชสมุนไพร 2ทดสอบการออกฤทธิ์ทางชีวภาพในการยับยั้งเชื้อก่อโรคเริมจากสารสกัดพืชสมุนไพร 3ช่วงเวลาของการวิจัยตั้งแต่เดือนตุลาคม2556–เดือนกันยายน2557 4ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ 4.1พืชสมุนไพรเช่นโมกราชินีสังกรณีตาแยแมวโด่ไม่รู้ล้มและชะมวง 4.2ฤทธิ์ต้านไวรัสเริมของพืชสมุนไพร ทฤษฎีสมมุติฐาน(ถ้ามี)และกรอบแนวความคิดของโครงการวิจัย Herpessimplexvirus(HSV)จัดอยู่ในFamilyHerpesviridaeSubfamilyAlphaherpesvirinae เชื้อไวรัสจะเข้าสู่ร่างกายผ่านทางเยื่อบุหรือรอยถลอกบริเวณผิวหนังลักษณะรอยโรคจะมีตุ่มใส(vesicle)หรือ เป็นแผลมีอาการแสบคันอักเสบแดงร่างกายไม่สามารถกาจัดเชื้อออกจากร่างกายได้ไวรัสตระกูลนี้ทาให้เกิด การติดเชื้อแอบแฝง(latentinfection)ที่ปมประสาทเมื่อถูกกระตุ้นเช่นร่างกายเสียสมดุลเกิดภาวะเครียด การมีรอบเดือนไวรัสจะเพิ่มจานวนและทาให้เกิดการติดเชื้อซ้า(recurrentinfection)ซึ่งจะทาให้เกิดตุ่มน้าและ แผลขึ้นที่ผิวหนังเชื้อไวรัสก่อโรคเริมแบ่งเป็น2ชนิดคือชนิดที่1และชนิดที่2โดยHSV-1พบการติดเชื้อครั้ง แรกทาให้เกิดการอักเสบบริเวณเหงือกปากคอทอนซิลกระจกตาเยื่อบุตาเยื่อบุสมองส่วนการติดเชื้อซ้าพบที่ ริมฝีปากกระจกตาและสมองแต่การติดเชื้อHSV-2มักพบบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ โดยทั่วไปในการคิดค้นยาตัวใหม่ๆสาหรับโรคติดเชื้อไวรัสยานั้นต้องจาเพาะต่อจุลชีพโดยไม่เป็นพิษต่อ เซลล์หรือเป็นพิษน้อยที่สุดแต่เนื่องจากไวรัสเป็นจุลชีพขนาดเล็กที่ต้องอาศัยกลไกของhostcellที่ใช้สาหรับ สร้างสิ่งต่างๆที่ต้องการ(obligateintracellularparasite)ดังนั้นทาให้การรักษาเป็นไปได้ยากเนื่องจากยาอาจ ไม่ยับยั้งการเพิ่มจานวนของไวรัสแต่หยุดกลไกของhostcellปัจจุบันยังไม่มีการรักษาเริมให้หายขาดดังนั้นทา ได้เพียงบรรเทาอาการและยาที่ใช้เป็นพวกกึ่งสังเคราะห์ที่มีผลข้างเคียงค่อนข้างสูงและราคาแพงอีกทั้งในการ รักษาโรคเริมยาเหล่านี้ต้องนาเข้าจากต่างประเทศทาให้ต้นทุนการรักษาเพิ่มขึ้นผู้ป่วยบางรายอาจได้รับปริมาณ ยาไม่ครบdoseทาให้การรักษาเป็นไปยากขึ้นถ้าใช้เป็นเวลานานอาจเกิดอาการดื้อยาดังนั้นสมุนไพรจาก ธรรมชาติจึงเป็นอีกหนึ่งทางเลือกเพราะผลข้างเคียงและการสะสมสารตกค้างในร่างกายน้อยกว่าสารเคมีที่ใช้ใน การผลิตยาแม้ว่าสมุนไพรมีมากมายแต่มีการศึกษาการออกฤทธิ์ต่อHSVไม่มากนัก(ถนอมศรี,2537) งานวิจัยครั้งนี้จึงเลือกศึกษาสมุนไพรบางชนิดซึ่งยังไม่มีรายงานการวิจัยประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อ ไวรัสก่อโรคเริมบริเวณผิวหนังดังนั้นการศึกษาวิจัยครั้งนี้มุ่งศึกษาฤทธิ์ยับยั้งเชื้อไวรัสก่อโรคเริมความคงตัวเพื่อ เป็นแนวทางสนับสนุนให้เกษตรกรปลูกพืชสมุนไพรมากขึ้นและใช้พืชสมุนไพรในการรักษาอาการโรคติดเชื้อไวรัส ก่อโรคเริมเพื่อเป็นการลดต้นทุนการนาเข้าสมุนไพรจากต่างประเทศส่งเสริมอาชีพให้เกษตรกรมีรายได้จากการ เพาะปลูกและเพิ่มผลผลิตภัณฑ์จากพืชสมุนไพรเพื่อใช้ในการรักษาโรคช่วยลดวัตถุดิบลดการนาเข้ายาจาก ต่างประเทศทั้งนี้เพื่อประโยชน์และเป็นทางเลือกใหม่ในการผลิตยาต้านไวรัสก่อโรคเริมจากสมุนไพรท้องถิ่นต่อไป
ผลที่คาดว่าจะได้รับ :1.เสนอผลงานวิจัยในงานประชุมสัมมนาวิชาการหรือตีพิมพ์งานวิจัยในวารสารทางวิชาการ 2.ได้ทราบสรรพคุณสมุนไพรที่มีฤทธิ์ในการยับยั้งเชื้อไวรัสก่อโรคเริมทั้งนี้เพื่อเป็นการลดการนาเข้ายาจาก ต่างประเทศเกษตรกรสามารถใช้ประโยชน์จากพืชสมุนไพรและเป็นการสนับสนุนภูมิปัญญาท้องถิ่นส่งเสริมข้อมูลทาง พฤกษศาสตร์พื้นบ้านที่มีฤทธิ์ในการยับยั้งโรคเริมเพิ่มมูลค่าความหลากหลายทางชีวภาพเพื่อพัฒนายาต้านไวรัสเริม จากทรัพยากรท้องถิ่นมีการพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์เชิงการค้าเกษตรกรมีรายได้จากการปลูกพืชสมุนไพรเพื่อเป็น วัตถุดิบในการผลิตยารักษาโรคมีการกระจายรายได้สู่ชุมชนเกษตรกรสามารถพึ่งพาตนเองได้ตามหลักเศรษฐกิจ พอเพียง 3.สามารถนาการวิจัยนี้ไปเผยแพร่ให้แก่ประชาชนผู้สนใจเข้าใจโทษจากการติดเชื้อไวรัสอย่างถูกต้องและ สามารถใช้เป็นแนวทางพัฒนาผลิตภัณฑ์จากพืชสมุนไพรท้องถิ่นชนิดอื่นๆที่มีประสิทธิภาพในการออกฤทธิ์ต้านไวรัส เริมและเป็นแนวทางในการพัฒนาใช้สมุนไพรเป็นส่วนประกอบในอาหารเสริมบารุงร่างกายทั้งนี้เพื่อให้เกิดการ ประยุกต์พัฒนาพืชสมุนไพรท้องถิ่นอื่นๆอย่างถูกวิธีโดยใช้ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์มาสนับสนุนร่วมกับข้อมูลทาง พฤกษศาสตร์พื้นบ้าน
การทบทวนวรรณกรรม/สารสนเทศ :Herpessimplexvirus(HSV)จัดอยู่ในFamilyHerpesviridaeSubfamilyAlphaherpesvirinae HSVเพิ่มจานวนในnucleusของเซลล์และออกจากเซลล์โดยการbuddingจากintranucleatedinclusionbody (พิไลพันธ์และชโลบล,2538)เชื้อไวรัสจะเข้าสู่ร่างกายผ่านทางเยื่อบุหรือรอยถลอกบริเวณผิวหนังลักษณะรอยโรค จะมีตุ่มใส(vesicle)หรือเป็นแผลมีอาการแสบคันอักเสบแดงร่างกายไม่สามารถกาจัดเชื้อออกจากร่างกายได้ ไวรัสตระกูลนี้ทาให้เกิดการติดเชื้อแอบแฝง(latentinfection)ที่ปมประสาทเมื่อถูกกระตุ้นเช่นร่างกายเสีย สมดุลเกิดภาวะเครียดการมีรอบเดือนไวรัสจะเพิ่มจานวนและทาให้เกิดการติดเชื้อซ้า(recurrentinfection) ซึ่งจะทาให้เกิดตุ่มน้าและแผลขึ้นที่ผิวหนังเชื้อไวรัสก่อโรคเริมแบ่งเป็น2ชนิดคือชนิดที่1และชนิดที่2โดย HSV-1พบการติดเชื้อครั้งแรกทาให้เกิดการอักเสบบริเวณเหงือกปากคอทอนซิลกระจกตาเยื่อบุตาเยื่อบุ สมองส่วนการติดเชื้อซ้าพบที่ริมฝีปากกระจกตาและสมองแต่การติดเชื้อHSV-2มักพบบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ (อภิชาติ,2545) โดยทั่วไปในการคิดค้นยาตัวใหม่ๆสาหรับโรคติดเชื้อไวรัสยานั้นต้องจาเพาะต่อจุลชีพโดยไม่เป็นพิษต่อ เซลล์หรือเป็นพิษน้อยที่สุดแต่เนื่องจากไวรัสเป็นจุลชีพขนาดเล็กที่ต้องอาศัยกลไกของhostcellที่ใช้สาหรับ สร้างสิ่งต่างๆที่ต้องการ(obligateintracellularparasite)ดังนั้นทาให้การรักษาเป็นไปได้ยากเนื่องจากยาอาจ ไม่ยับยั้งการเพิ่มจานวนของไวรัสแต่หยุดกลไกของhostcellปัจจุบันยังไม่มีการรักษาเริมให้หายขาดทาได้เพียง บรรเทาอาการและยาที่ใช้เป็นพวกกึ่งสังเคราะห์ที่มีผลข้างเคียงค่อนข้างสูงและราคาแพงอีกทั้งในการรักษาโรค เริมยาเหล่านี้ต้องนาเข้าจากต่างประเทศทาให้ต้นทุนการรักษาเพิ่มขึ้นผู้ป่วยบางรายอาจได้รับปริมาณยาไม่ครบ doseทาให้การรักษาเป็นไปยากขึ้นถ้าใช้เป็นเวลานานอาจเกิดอาการดื้อยาดังนั้นสมุนไพรจากธรรมชาติจึงเป็น อีกหนึ่งทางเลือกเพราะผลข้างเคียงและการสะสมสารตกค้างในร่างกายน้อยกว่าสารเคมีที่ใช้ในการผลิตยา(ศรี จันทร์,2531)แม้ว่าสมุนไพรมีมากมายแต่มีการศึกษาการออกฤทธิ์ต่อHSVไม่มากนักตัวอย่างสมุนไพรที่ยังไม่มี การศึกษาต่อประสิทธิภาพในการยับยั้งไวรัสเริมเช่นโมกราชินีสังกรณีตาแยแมวโด่ไม่รู้ล้มและชะมวง โมกราชินี(WrightiasirikitiaMiddleton&Santisuk)APOCYNACEAEเป็นพืชยืนต้นขนาดเล็กดอกสี ขาวกลิ่นหอมเมล็ดรูปไข่แบนปลายเป็นกระจุกพู่เกาะกันแผ่ออกเป็นรัศมีปลายลู่ลงสู่พื้นดิน(ยุทธนาและคณะ,2546) สังกรณี(หญ้าหงอนไก่,หญ้าหัวนาค)(BarleriastrigosaWilld.)ACANTHACEAEเป็นไม้พุ่มขนาดเล็กลาต้นมีขนขนาดเล็กใบเดี่ยวรูปหอกปลายเรียวแหลมมีขนเล็กน้อยดอกเป็นช่อตั้งสรรพคุณต้มน้าดื่มบารุงกาลัง รากรสชมแก้รอนในกระหายน้าแก้ไข้แก้ไอแก้โลหิตกาเดาดับพิษร้อนถอนพิษ(ยุทธนาและคณะ,2546) ตาแยแมว(AcalyphaindicaL.)EUPHORBIACEAEรากมีสีขาวสรรพคุณบารุงกาลังและเพิ่มกาลัง ชาย(สุภาภรณ์,2555) โด่ไม่รู้ล้ม(ElephantopusscaberL.)COMPOSITAEเป็นไม้ล้มลุกลาต้นแข็งตั้งตรงใบเดี่ยวขอบใบ หยักมีขนปกคลุมทั้งสองด้านดอกเป็นกระจุกสรรพคุณรากและใบแก้บิดขับปัสสาวะแก้ไอรักษาวัณโรคบารุง กาหนัดแก้ท้องร่วงแผลในกระเพาะ(เศรษฐมันตร์,2553)ชะมวง(GarciniacowaRoxbex)GUTTIFERAEเป็นไม้ต้นเล็กใบเดี่ยวเรียงตรงข้ามผลเมื่อสุกมีสีแดงเหลืองอมส้มสรรพคุณรากแก้ไข้ร้อนในถอนพิษแก้บิดขับเสมหะบารุงธาตุแก้ไอแก้กระหายน้าเป็นยาระบาย(ยุทธนาและคณะ,2546)ส่วนสารเคมีที่มีการศึกษาถึงประสิทธิภาพในการต้านไวรัสได้แก่flavonoid,triterpene,alkaloid,tannin(นันทวัน,2538)ซึ่งการศึกษาสารสกัดรากพืชในบังกลาเทศeraniumsangniumL.สามารถยับยั้งการจาลองตัวของHSV-1และHSV-2มีค่าEC50=3.6-6.2?g/mlพบว่าสารออกฤทธิ์เป็นกลุ่มflavonoids,catechin,tanninและpolyphenolicacid(SerkedjievaandIvancheva,1999)สารสาคัญจากAlliumsativumLinn.(กระเทียม)คือajoeneและallicinให้ผลในการต้านเชื้อเริมส่วนสารสกัดด้วยmethanolของAloeveraLinn.(ว่านหางจระเข้)มีสารออกฤทธิ์คือAloe-emodinซึ่งเป็นสารกลุ่มanthraquinoneโดยจะไปยับยั้งenvelopedvirus(นันทวัน,2538)ส่วนการศึกษาสมุนไพรในไทยต่อการยับยั้งHSV-1ของMoringaoleifera,AglaiaodorataและVentilagodenticulateพบว่ามีฤทธิ์ต่อต้านสายพันธุ์thymidinekinase-deficiencyHSV-1และphosphonoacetate-resistantHSV-1(Lipipunetal.,2003)นอกจากนี้จากการศึกษาพบว่าBarlerialupulinaLindl.(เสลดพังพอน)มีฤทธิ์ยับยั้งHSV-2(Yoosooketal.,1999)ส่วนClinacanthusnutans(พญายอ)มีฤทธิ์ต้านการอักเสบ(Kittisiripornkul,1984)สารสกัดน้าจากต้นหมอน้อย(PlantagomajorL.)พบว่าสามารถยับยั้งHSV-1โดยมีค่าEC50เท่ากับ15.3?g/mlและSIเท่ากับ671ส่วนHSV-2มีค่าEC50เท่ากับ87.3?g/mlและSIเท่ากับ118ตามลาดับ(Chiangetal.,2002)ส่วนของเปลือกต้นของกานพลู(Eugeniacaryophyllus(Spreng.)Bullock&S.G.Harrison) พบว่าeugenolมีฤทธิ์ลดการบีบตัวของลาไส้ขับน้าดีลดอาการจุกเสียดฆ่าเชื้อแบคทีเรียในลาไส้(ปัจจุบัน,2541) เมื่อทดสอบประสิทธิภาพสารสกัดจากดอกกานพลูต่อHSV-1ในหนูทดลองร่วมกับACVพบว่าสามารถลดปริมาณ ไวรัสจากสมองและผิวหนังซึ่งออกฤทธิ์ได้ดีกว่าใช้ยาต้านไวรัสACVเพียงอย่างเดียว(Kurokawaetal.,1995) ชุมเห็ดเทศ(Sennaalata(L.)Roxb.)จัดอยู่ในวงศ์Leguminosaeในส่วนใบและช่อดอกมีสรรพคุณทาง สมุนไพรเป็นยาระบายเมล็ดบรรเทาอาการท้องผูกและรักษาโรคผิวหนังมีฤทธิ์ในการต้านเชื้อก่อโรคเริมชนิดที่2ใน ขั้นตอนก่อนที่ไวรัสจะเข้าสู่เซลล์(ชุตินันท์,2534)เห็นได้ว่าส่วนใหญ่พืชที่มีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อไวรัสเริมพบการศึกษาวิจัยในต่างประเทศเป็นส่วนใหญ่ซึ่งพบว่าการศึกษาวิจัยพืชสมุนไพรในท้องถิ่นที่มีฤทธิ์ยับยั้งไวรัสค่อนข้างน้อยด้วยเหตุนี้ผู้วิจัยจึงมุ่งศึกษาประสิทธิภาพของสมุนไพรในประเทศไทยที่ยังไม่มีรายงานการศึกษาต่อประสิทธิภาพในการออกฤทธิ์ยับยั้งเชื้อไวรัสก่อโรคเริมได้แก่โมกราชินีสังกรณีโด่ไม่รู้ล้มตาแยแมวและชะมวงทั้งนี้นาไปสู่การส่งเสริมพึ่งพาตนเองของประชากรในชุมชนทางด้านยาเพิ่มพูนรายได้ในชุมชนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงส่งเสริมและอนุรักษ์พืชสมุนไพรในชุมชนรวมทั้งเป็นองค์ความรู้ในการสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นในแต่ละท้องถิ่นจากคนในท้องถิ่นไม่ให้สูตรตารับยาองค์ความรู้ของสมุนไพรในท้องถิ่นสูญหายซึ่งข้อมูลต่างๆเหล่านี้จะเป็นการอนุรักษ์เอกลักษณ์ประเพณีความเชื่อต่างๆในท้องถิ่นที่ผสมผสานหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ที่ถูกต้องสืบต่อไป
ทฤษฎี สมมุติฐาน กรอบแนวความคิด :-
วิธีการดำเนินการวิจัย และสถานที่ทำการทดลอง/เก็บข้อมูล :1อุปกรณ์ 1.1ขวดเพาะเลี้ยงเซลล์หรือflaskขนาด25cm 1.2จานเพาะเลี้ยงเซลล์ขนาด24และ96หลุม 1.3ขวดDuranขนาด100,250,500และ1000ml 1.4หลอดทดลองขนาดเล็ก 1.5ขวดฝาดาขนาด15และ30ml 1.6บีกเกอร์ขนาด250,500,1000ml 1.7กระบอกตวงขนาด100และ500ml 1.8ปิเปตขนาด1,5,10ml 1.9อุปกรณ์กรองอาหารเลี้ยงเชื้อ 1.10Microcentrifugetube 1.11Pipettetip 1.12Sterilesyringe5ml 1.13กระดาษWhatmanNo.1 1.14แผ่นกระดาษกรองแบคทีเรียขนาด0.22และ0.45?m 2เครื่องมือ 2.1Invertedmicroscope 2.2Autoclave 2.3Hotairoven 2.4เครื่องชั่งอย่างละเอียด 2.5ตู้เย็น 2.6ตู้แช่แข็ง-20?Cและ-85?C 2.7ตู้incubator 2.8Autopipette 2.9Pipetteboy 2.10เครื่องRockingplatform 2.11เครื่องEvaporator 2.12เครื่องLyophilizer 2.13เครื่องVacuumpump 2.14เครื่องcentrifuge 3สารเคมี 1 PhosphateBufferedSaline(PBS) 2 1%Trypsin 3 %EDTA 4 0.1%Trypsin-EDTA 5 10%NaHCO 6 1.5%Sodiumcarboxymethylcellulose 7 0.1%Crystalvioletใน1%ethanol 8 95%และ75%alcohol 9 Sterilewater 10 Dimethylsulphoxide(DMSO) 11 MTTdye 4 อาหารเลี้ยงเชื้อ 1 Growthmedium(GMEM) 2 Maintenancemedium(MEM) 3 Overlaymedium 5 เชื้อไวรัสก่อโรคเริม(herpessimplexvirus)(ได้รับความอนุเคราะห์จากภาควิชาจุลชีววิทยาคลินิกคณะ เทคนิคการแพทย์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) 6 เซลล์เพาะเลี้ยง:verocells 7 สมุนไพรที่ใช้ในการทดสอบ:เช่นโมกราชินีสังกรณีตาแยแมวโด่ไม่รู้ล้มและชะมวง 8 สารที่ใช้ทดสอบในการต้านเชื้อจุลชีพ:Acyclovir(9-(2-Hydroxyethoxy)methyl-guanosine),gentamycin, streptomycin,penicillin
คำอธิบายโครงการวิจัย (อย่างย่อ) :-
จำนวนเข้าชมโครงการ :1008 ครั้ง
รายชื่อนักวิจัยในโครงการ
ชื่อนักวิจัยประเภทนักวิจัยบทบาทหน้าที่นักวิจัยสัดส่วนปริมาณงาน(%)
นางสาวเรณู อยู่เจริญ บุคลากรภายในมหาวิทยาลัยหัวหน้าโครงการวิจัย100

กลับไปหน้าโครงการวิจัยทั้งหมด