การจัดการขยะกำพร้าแบบมีส่วนร่วม | | |
| | | |
การต่อยอดงานวิจัย (R2R) สู่การเผยแพร่บทความ | | |
| | | |
การบริหารจัดการและการให้บริการห้องสมุด / ระบบห้องสมุดอัตโนมัติสำหรับห้องสมุดโรงเรียน | ไม่พบ | 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานห้องสมุด
2. ประเภทของทรัพยากรสารสนเทศ
3. การลงทะเบียนหนังสือ
4. การจัดหมวดหมู่ด้วยระบบทศนิยมดิวอี้
5. การลงรายการทางบรรณานุกรม
6.การจัดเก็บและการจัดเรียงหนังสือขึ้นชั้น
|
| เป็นข้อมูลพื้นฐานทางด้านสาขาวิชาบรรณารักษ์ เป็นการทบทวนความรู้และเพิ่มเติมในส่วนต่างๆ ในการลงรายการทางบรรณานุกรมของหนังสือได้เป็นอย่างดี | | |
อบรมการจัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม | ไม่พบ | การจัดซื้อสินค้าหรือจัดจ้างบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ตามรายการสินค้าและบริการที่ได้จัดทำ เกณฑ์ข้อกำ หนดไว้แล้ว หรือสินค้าที่ได้ฉลากสิ่งแวดล้อม เช่น ฉลากเขียว
ฉลากลดคาร์บอน หรือ บริการที่ได้การรับรองด้านสิ่งแวดล้อม การใช้กลยุทธ์การจัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมแสดงให้เห็นถึงการดูแลสิ่งแวดล้อมที่ดี
และความมุ่งมั่นที่จะปฏิบัติตามวัตถุประสงค์ที่คํานึงถึงผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อมทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับโลก เช่น การลดการปลดปล่อยก๊าซ
เรือนกระจก การป้องกันการเกิดมลพิษทางอากาศดินและน้ำ และการใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืนการดําเนินการจัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ยังช่วยให้องค์กรดําเนินงานภายใต้กฎหมายด้าน
สิ่งแวดล้อมอีกด้วย |
trainreport_001207_34.pdf
| สามารถนำความรู้ที่ได้มาปรับใช้ในโครงการ Green library ได้ดีอย่างยิ่ง | | 15/06/2565 |
อบรมการจัดการมลพิษและของเสีย | ไม่พบ | การนำขยะไปฝังกลบควรเป็นวิธีสุดท้ายสำหรับขยะที่ไม่สามารถกำจัดด้วยวิธีใดๆ ที่กล่าวมาแล้วข้างต้นได้ ดังนั้นในการจัดการขยะมูลฝอยควรเริ่มจากการรณรงค์ให้ความรู้และออกมาตรการต่างๆ เพื่อลดปริมาณมูลฝอย ณ แหล่งกำเนิดเป็นขั้นแรก จากนั้นหาวิธีการรีไซเคิลวัสดุในขยะเท่าที่เป็นไปได้ให้ได้มากที่สุด ได้แก่การแยกประเภทขยะก่อนทิ้ง และแยกประเภทเก็บขน นำขยะผ่านการคัดแยกต้นทางเข้าสู่กระบวนการคัดแยกอีกครั้งเพื่อทำให้ได้วัสดุที่มีความบริสุทธิ์มากขึ้นตามความต้องการของตลาด จากนั้นส่วนที่เหลือจึงพิจารณานำไปผลิตเป็นพลังงาน แต่ด้วยข้อจำกัดต่างๆ ที่มีในแต่ละท้องถิ่น ปริมาณขยะมูลฝอย และความเหมาะสมทั้งทางด้านพื้นที่ นโยบาย เศรษฐศาสตร์ เทคนิคและสิ่งแวดล้อม อาจทำให้วิธีการต่างๆ นั้นไม่สามารถดำเนินการได้ |
| รู้วิธีการจัดการขยะตั้งแต่จุดเริ่มต้น จนถึงปลายทาง และสามารถนำมาปรับใช้กับโครงการ Green library ภายในห้องสมุดได้เป็นอย่างดี | | 15/06/2565 |
CMRU Library KM Day 2022 : ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ | ไม่พบ | ในปัจจุบันบทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศในการดำเนินงานของห้องสมุด คือ การนำมาใช้แก้ปัญหาในเรื่องการจัดเก็บทรัพยากรห้องสมุดที่มีเพิ่มมากขึ้น
ห้องสมุดยุคใหม่จึงเปลี่ยนไปตามความก้าวหน้าของเทคโนโลยีและวัฒนธรรมการเรียนรู้ของคนในสังคม ทำให้การดำเนินงานของห้องสมุดเปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอนาคต รูปแบบการเสนอข้อมูลของห้องสมุดจะเน้นการเข้าถึงเอกสารเต็มรูป (Full Text) ที่บันทึกอยู่ในสื่อทุกรูปแบบมากขึ้นห้องสมุดเสมือนจึงเป็นที่รวมแหล่งสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ที่มีการจัดการอย่างมีระบบและให้บริการค้นคืนสารสนเทศแบบออนไลน์ในระบบเครือข่าย โดยที่ผู้ใช้สามารถเข้าถึงระยะไกลมายังห้องสมุดเพื่อสืบค้นและใช้สารสนเทศของห้องสมุดหรือเชื่อมโยงกับแหล่งสารสนเทศอื่นได้ทุกที่ในระบบเครือข่าย เพื่อให้ผู้ใช้สามารถใช้ได้ทุกเมื่อที่ต้องการอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล |
| นำความรู้ที่ได้เข้ารับอบรมในครั้งนี้มาปรับใช้กับงานที่ปฏิบติได้เป็นอย่างดี โดยสังเกตุจากพฤติกรมมของผู้ใช้บริการ | | |
การเตรียมความพร้อมรับการตรวจประเมินห้องสมุดสีเขียว | ไม่พบ
| การเตรียมความพร้อมรับการตรวจประเมินห้องสมุดสีเขียว
- การให้คะแนนหลักฐานการประเมิน
- ปฏิทินการตรวจประเมิณห้องสมุดสีเขียว
- การรวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำรายงานการตรวจประเมินห้องสมุดสีเขียว
- หลักฐานต่างๆ ในการเข้ารับการตรวจประเมิน |
| ได้รับความรู้เกี่ยวกับเกณฑ์ที่ใช้ตรวจประเมินห้องสมุดสีเขียว | - | |
โครงการแนวทางการดำเนินงานสู่ห้องสมุดสีเขียว (NSRU Green Library) | ไม่พบ | จากการเข้ารับฟังบรรรยายในหัวข้อ แนวทางการดำเนินงานสู่ห้องสมุดสีเขียว
ได้รับคำแนะนำจาก ดร.อารย์ ธัญกิจจานุกิจ ในการดำเนินห้องสมุดเขียวทั้ง 8 หมวด โดยในแต่ละหมวดได้แนะนำวิธีการต่างๆ เช่น ด้านอาคารสถานที่ ด้านประประหยัดพลังงาน ด้านการจัดการขยะ เพื่อนำไปสู่แนวทางการดำเนินงานห้องสมุดสีเขียว |
| - ได้แนวในการดำเนินต่อในหมวดต่างๆ ของห้องสมุดสีเขียว
- สามารถนำมาเป็นประโยชน์ในการจัดกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานด้านห้องสมุดสีเขียว | | |
การเขียนแบบฟอร์มสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น | ไม่พบ | แนะนำแนวทางในการส่งผลงานในการเข้าสู่ตำแหน่งชำนาญการ
- การเตรียมเอกสารที่ใช้ขอ
- ระยะเวลาต่างๆ ในการเตรียมเอกสาร
- กระบวนการขอตำแหน่ง
- วิธีการเขียนคู่มือในการดำเนินงาน |
| บุคลากรที่เข้ารับฟังสามารถมีแนวทางในการที่จะส่งผลงานของตนเอง และรู้ถึงลักษณะงานของตัวเองว่าจะเริ่มต้นการจัดทำคู่มืออย่างไร | | |
อบรมมาตรฐานความปลอดภัยด้านสุขอนามัย Amazing Thailand Safety & Health Administration : SHA | ไม่พบ | การเพิ่มความปลอดภัยด้านสุขอนามัยความร่วมมือขับเคลื่อนให้เกิดการตระหนักรู้ถึงการฒนาแนวทางมาตรฐานความปลอดภัยด้านสุขอนามัย SHAนตระหนักถึงความสำคัญของมาตรฐานด้านสุขอนามัยขั้นพื้นฐานในแบบ New Normal ทำให้มีความมั่นใจในการดำเนินงาน |
| ช้เป็นข้อมูลพื้นฐานประกอบการวิเคราะห์จัดทำแผนในการพัฒนางานของตนเองได้ | | |
อบรมการใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ | ไ่พบปัยหาและอุปสรรค์ | การใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ
- การใช้น้ำอย่างไรให้ประหยัด
- เกณฑ์สำนักงานสีเขียว
- แนวทางการพัฒนาสู่สำนักงานสีเขียว
- การใช้ทรัพยากรและพลังงาน
- การใช้พลังงานเชื้อเพลิง
|
| สามารถนำความรู้ที่ได้จากการอบรมมาปรับใช้ในการเ้ขาสู้ห้องสมุดสีเขยวที่ห้องสมุดกำลังดำเนินงานได้เป็นอย่างดี | | |
กิจกรรมเสวนาวิชาการ เรื่อง "ทิศทางการพัฒนาวิชาชีพห้องสมุดในอนาคต : แนวคิดและประสบการณ์จากผู้รับรางวัลบุคคลดีเด่น" | ไม่พบ | ทิศทางการพัฒนาวิชาชีพห้องสมุดในอนาคต : แนวคิดและประสบการณ์จากผู้รับรางวัลบุคคลดีเด่นค้วามรู้และสร้างความตระหนกัรู้เกี่ยวกบัความท้า
ทายของสถานการณ์ทางเทคโนโลยีที่มีการเปลี่ยนแปลงอยา่ งต่อเนื่อง ทำให้เกิดผลกระทบ มีความทา้ทายต่อวิชาชีพบรรณารักษแ์ละนักสารสนเทศและเป็นเวทีถ่ายทอด แลกเปลี่ยนแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาดา้นการบริการสารสนเทศและห้องสมุดให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่ทรงคุณค่าและตอบสนอง
ผูใ้ช้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ |
| - พัฒนาห้องสมุดให้เป็นแหล่งเรียนรู้ทเี่ปิดกว้างเพื่อการเรียนรู้ทที่ทรงคุณค่า
- รู้วิธีการต้ังรับหรือรับมือกับความท้าทายของห้องสมุด
| | |
กิจกรรมพัฒนาและเผยแพร่ความรู้ด้านวิชาการ ครั้งที่ 2 ประจำปี 2565 เรื่อง Open Data : การปรับตัวของห้องสมุดในยุคสังคมดิจิทัล | ไม่พบ | ห้องสมุดของไทยหลายแห่งมีการปรับปรุงสิ่งอำนวยความสะดวกเพิ่มเติมอย่างเห็นได้ชัด ให้ความสำคัญกับการจัดหาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์เพิ่มเติม การให้บริการสัญญาณอินเทอร์เน็ต WiFi เพื่อให้ผู้ใช้บริการสามารถค้นคว้าสารสนเทศและความรู้ด้วยตนเอง
การจัดทำกรอบสมรรถนะด้านดิจิทัลในแต่ละครั้งต้องใช้ข้อมูล และความร่วมมือจากหน่วยงานต่าง ๆเพื่อทำให้เกิดขึ้นจริงได้ ตั้งสาเหตุที่จัดทำจุดประสงค์ การออกแบบ การพัฒนา การนำไปใช้ การรับรองสมรรถนะและการกำกับดูแล ซึ่งแต่ละส่วนงานมีความสำคัญต่อการทำให้กรอบสมรรถนะเกิดการใช้จริง |
| -ได้รับความรู้เพิ่มมากขึ้นเรื่องการปรับตัวของห้องสมุดในยุคสังคมดิจิทัล
-ได้นำความรู้และทักษะต่างๆ ที่ได้รับการอบรมมาช่วยในการพัฒนางาน | | |
โครงการอบรมแนวทางการดำเนินงานสู่ห้องสมุดสีเขียว (NSRU Green Library) เรื่อง “การจัดการขยะภายในหอสมุด และกิจกรรม 5ส” | ไม่พบ | นโยบายการบริหารจัดการห้องสมุดสีเขียว ที่แสดงทิศทางการอนุรักษ์
พลังงานและสิ่งแวดล้อม อันประกอบด้วย วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายและ
ยุทธศาสตร์ ครอบคลุมโครงสร้างพื้นฐานทางด้านกายภาพและเทคโนโลยีที่เป็น
มิตรกับสิ่งแวดล้อม มีการจัดการทรัพยากรและพลังงาน การจัดการของเสียและ
มลพิษอย่างเป็นระบบ รวมทั้ง มีการประกาศให้ผู้เกี่ยวข้องรับทราบให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของบุคลากรห้องสมุดและผู้รับบริการมีการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์และจัดการความรู้ร่วมกันในเรื่องการบริหารจัดการและการให้บริการความรู้เพื่อการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม มีความร่วมมือระหว่างห้องสมุดและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยมีข้อก าหนดมาตรฐานห้องสมุดสีเขียวรวม 8 หมวด |
| บุคลากรสามารถพัฒนาขีดความสามารถของตนเองเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการทำงานให้ดียิ่งขึ้น และสร้างผลสำเร็จได้ดียิ่งขึ้น | | |
ฟังการบรรยาย เรื่อง "ห้องสมุดกับการเป็นองค์กรที่มีการบริหารจัดการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน | ไม่พบ | การประหยัดพลังงานและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเป็นการควบคุมหน่วยงานภายนอกที่เข้ามาใช้พื้นที่ภายในห้องสมุดให้ได้ปฏิบัติตามข้อกำหนดในการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม โดยดำเนินการตามข้อกำหนดเงื่อนไขการจัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของกรมควบคุมมลพิษารประหยัดพลังงานไฟฟ้า พลังงานน้ำ และทรัพยากร โดยเริ่มต้นตั้งแต่การประกาศเป็นนโยบายห้องสมุดสีเขียวผ่านเว็บไซต์ ทำหนังสือเวียน นโยบายการพัฒนาสำนักวิทยบริการสู่ห้องสมุดสีเขียว และมาตรการประหยัดพลังงาน ไปยังหน่วยงานต่างๆ ในมหาวิทยาลัย ปิดป้ายประกาศนโยบายการพัฒนาสำนักวิทยบริการสู่ห้องสมุดสีเขียว และมาตรการประหยัดพลังงาน ในสำนักวิทยบริการ และแจ้งเวียนประกาศนโยบายการพัฒนาสำนักวิทยบริการสู่ห้องสมุดสีเขียว ไปยังบุคลากรสำนักวิทยบริการเพื่อรับทราบทุกคน |
| - ได้นำความรู้และทักษะต่างๆ ที่ได้รับการอบรมมาช่วยในการพัฒนางาน
- บุคลากรสามารถพัฒนาขีดความสามารถของตนเองเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการทำงานให้ดียิ่งขึ้น
| | |
อบรม Green Office สำนักงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม | ไม่พบ | สำนักงานและกิจกรรมต่างๆ ภายในสำนักงาน ที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุดโดยการใช้ทรัพยากร และพลังงานอย่างรู้คุณค่า มีแนวทางในการจัดการของเสียอย่างมีประสิทธิภาพ รวมไปถึงการเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ เครื่องใช้สำนักงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม |
trainreport_001207_22.pdf
| 1 สามารถนำมาแนวทางการดำเนินงานสู่ห้องสมุดสีเขียว (NSRU Green Library)
2.ส่งเสริมความรู้และความเข้าใจให้แก่บุคลากรภายในหน่วยงานในการพัฒนาเป็นห้องสมุดสีเขียว (NSRU Green Library) | | 28/04/2565 |
กิจกรรมพัฒนาบุคลากร เรื่อง การจัดการขยะถูกวธี ช่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมได้อย่างไร | ไม่พบ | 1.ใช้ประโยชน์จากขยะหรือวัสดุให้เกิด
ประโยชน์สูงสุดและคุ้มค่าที่สุด
2.น่าขยะหรือวัสดุกลับมาใช้ใหม่ รู้จัก
ประยุกต์น่าเศษวัสดุ
3.ใช้ประโยชน์จากขยะหรือวัสดุให้เกิด
ประโยชน์สูงสุดและคุ้มค่าที่สุด กระดาษก็
ควรใช้ให้หมดทั้งสองหน้า อาหารต่าง ๆ
4.น่าขยะหรือวัสดุกลับมาใช้ใหม่ รู้จัก
ประยุกต์น่าเศษวัสด
5.ลดปริมาณการใช้ของที่จะกลายมาเป็นขยะ
ให้มากที่สุดโดยเฉพาะของที่ใช้ครั้งเดียวแล้ว
ทิ้ง |
| ส่งเสริมความรู้และความเข้าใจให้แก่บุคลากรภายในหน่วยงานในการพัฒนาเป็นห้องสมุดสีเขียว (NSRU Green Library) | | |
เข้าร่วมฟังการสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง การพลิกโฉมห้องสมุดมหาวิทยาลัยในยุค New Normal และNext Normal | ไม่พบ | ฟังบรรยายในหัวข้อ เรื่อง "พลิกโฉมห้องสมุดมหาวิทยาลัยในยุค New Normal และ Next Normal"
- ความท้าของยุค New Normal & Next Normal
- มิติใหม่ของห้องสมุดและวิชาชีพ
- การปรับแต่งแปลงโฉมมหาวิทยาลัย
- การนำ PDCA เข้าเข้ามาเพื่อบริหารและการทำงานอย่งมีประสิทธิภาพ
|
| สามารถนำประโยชน์ที่ได้เข้ารับการสัมนามาปรับใช้ในการยุค New Normal และ Next Normal" ที่กำลังเกิดขึ้นในปัจจุ | - | |
สัมมนาออนไลน์ เรื่อง "พลิกโฉมห้องสมุดมหาวิทยาลัยในยุค New Normal และ Next Normal" | ไม่พบ | สัมมนาออนไลน์เรื่อง "พลิกโฉมห้องสมุดมหาวิทยาลัยในยุค New Normal และ Next Normal" ตั้งแต่เวลา 09.00-12.00 แบ่งตามหัวข้อดังนี้
1. อุดมศึกษายุค New Normal and
Next Normal
2.มหาวิทยาลัยที่(ต้อง) ไม่เหมือนเดิม
3.พลิกโฉมห้องสมุดมหาวิทยาลัยใน
กระแสท้าทาย
4. |
| สามารถนำความรู้ที่ได้จากการฟังอบรมและสัมมามาปรับใช้ในงานประจำได้เป็นอย่างดี | - | |
การสัมมนาความร่วมมือทางวิชาการด้านการพัฒนาเครือข่ายห้องสมุดสีเขียว ครั้งที่ 8 ภายใต้ธีมงาน “Green Society” | ไม่พบ | ความร่วมมือทางวิชาการด้านการพัฒนาเครือข่ายห้องสมุดสีเขียว ครั้งที่ 8
1.SMART CITYFOR SDGs @TU
2.การตรวจประเมินสำนักงานห้องสมุดสีเขียว
3. โครงการการศึกษารูปแบบการลดปริมาณการระบายก๊าซเรือนกระจกจากการจัดการขยะมูลฝอยในเขตเทศบาลนครลำปาง
4. เล่าส่กันฟังชมรมห้องสมดสีเขียว
|
| นำความรู้ที่ได้จาการสัมนามาปรับบในการจัดทำห้องสมุดสีเขียวเพื่อเป็นการต่อยอดและพัฒนางานในการดำเนินโครงการห้องสมุดสีเขียวของ ศุนย์วิทยบริการ | | |
การพัฒนานวัตกรรมส่งเสริมการอ่านและการรู้สารสนเทศ | ไม่พบ | การแลกเปลี่ยนประสบการณ์การพัฒนานวัตกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้สารสนเทศ |
| สามารถนำความรู้ที่ได้รับมาปรับใช้ในการปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี | | |
การใช้งานฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เพื่อการสืบค้น โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุดในประเทศไทย (ThaiLIS) | ไม่พบ | อบรมฐานข้อมูลจำนวนทั้งหมด 4 ฐานข้อมูล
การใช้งานฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เพื่อการสืบค้น โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุดในประเทศไทย (ThaiLIS) ประจำปี พศ. 2565 รอบกลุ่มมหาวิทยาลัย เขตภาคกลาง กลุ่มที่ 2 วันที่อบรม 29 มีนาคม 2565 : 1) ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ 2) มทร.ตะวันออก 3) มทร.ธัญบุรี 4) มทร.สุวรรณภูมิ 5) มรภ.กาญจนบุรี 6) มรภ.กำแพงเพชร 7) มรภ.นครปฐม 8) มรภ.นครสวรรค์ 9) มรภ.เพชรบุรี 10) มรภ.เพชรบูรณ์ 11) มรภ.รำไพพรรณี 12) มรภ.หมู่บ้านจอมบึง 13) มรภ.เทพสตรี |
| มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับฐานข้อมูลที่สามรถนำมาใช้ในการสร้างงานวิจัย หรือสมารถแนะแนวทางให้กับนักศึกษาและคณาจารย์ได้เป็นอย่างดี | | |
กิจกรรมอบรม หลักสูตร "การพัฒนาข้อเสนอโครงการวิจัยเชิงพื้นที่” | - | - แนะนำการเขียนผลงานวิจัย
- การสร้างผลงานวิจัยร่วมกับกับชุมชน
- แนวทางในการพัฒนาผลงานวิจัย
- การขับเคลื่อนผลงานวิจัยกับเขตชุมชนชายขอบนอกพื้นที่
- ระยะเวลาในการจัดทำผลงานวัจัย |
| สามารถนำแนวทางกาสร้างผลงานวิจัย มาใช้ประกอบการจัดทำผลงานวัยจัยของตนเองได้เป็นอย่างดี | - | |
Metaverse จุดเปลี่ยนของห้องสมุดยุคใหม่? | ไม่พบ | บรรณารักษ์จำนวนหนึ่งได้เสนอวิสัยทัศน์ใหม่เกี่ยวกับห้องสมุดในอนาคตว่า ห้องสมุดจะไม่ใช่แค่เป็นเรื่องของ ‘พื้นที่การอ่าน’ หรือ ‘การยืมคืนหนังสือ’ อีกต่อไป แต่ควรจะมีลักษณะเป็นชุมชนเพื่อการสร้างสรรค์และแบ่งปันความรู้ เป็นสถานที่เหมาะสำหรับการพบปะสนทนา รวมทั้งเป็นกลไกสำคัญในการพัฒนาสังคม ด้วยการอำนวยความสะดวกเพื่อให้เกิดการสร้างความรู้ |
| ได้รับความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงไปของห้องสมุด และสามารถนำความรู้ที่ได้เข้ารับการอบรมมาปรับใช้กับการปฏิบัติงานในด้านงานบรรณารักา์ | - | |
NSRU Green Library | ไม่พบ | เข้ารับฟังบรรยาย "ในหัวข้อ NSRU Green Library" โดยดร. อารีย์ ธัญกิจจานุกิจ ณ ห้องห้องประชุมราชพฤกษ์ ชั้น 1 ตั้งแต่เวลา 16.30 - 17.00 น.
มีรายละเอียดและหัวข้อดังนี้
1. หมวดที่ 1 ทั่วไป การกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย และยุทธศาสตร์
2. หมวดที่ 2 โครงสร้างพื้นฐานทางด้านกายภาพและเทคโนโลยีที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
3. หมวดที่ 3 การจัดการทรัพยากรและพลังงาน
4. หมวดที่ 4 การจัดการของเสียและมลพิษ
5. หมวดที่ 5 การบริหารจัดการและการให้บริการห้องสมุดเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม
6. หมวดที่ 6 บทบาทของบุคลากรห้องสมุดและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
7. หมวดที่ 7 เครือข่ายและความร่วมมือระหว่างห้องสมุด
8. หมวดที่ 8 การประเมินคุณภาพห้องสมุดสีเขียว
ซึ่ง ดร. อารีย์ ธัญกิจจานุกิจ ได้ให้คำแนะนำและให้คำปรึกการปรับข้อมูลในหัวข้อต่างๆ ในการดำเนินโครงการ ห้องสมุดสีเขียว |
| 1. สามารถนำมาปรับใช้ในกิจกรรม Green Library ได้เป็นอย่างดี
2. มีแนวทางและแผนการดำเนินการที่จัดเจนมากขึ้น | - | |
กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง การพัฒนาการบริหารลูกค้าสัมพันธ์สำหรับลูกค้าของห้องสมุด | - | - เป็นการให้บริการที่มุ่งเน้นลูกค้าเป็นหัวใจหลักสำคัญ
- การจัดการระบบข้อมูลลูกค้า เพื่อให้บริการได้ตรงความต้องการของผู้ใช้บริการและสร้างความสัมพันธ์ที่ดีอย่างต่อเนื่องกับผู้ใช้บริการ
- เรียนรู้ความต้องการและความคาดหวังจากผู้ใช้บริการภายในห้องสมุด
-เน้นการตอบสนองให้สูงกว่าความคาดหวังที่เคยได้รับ
- ทำให้ผู้ใช้บริการเกิดความจงรักภักดีหรือประทับใจตลอดไป |
| สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับงานห้องสมุด เป็นอีกหนึ่งวิถีทางที่จะนำห้องสมุดไปสู่ความสำเร็จในการสร้างความภักดีในกลุ่มผู้ใช้บริการ หากห้องสมุดใดสามารถหากลยุทธ์เพื่อดึงดูดผู้ใช้บริการให้มีความรู้สึกว่าพวกเขาเป็นส่วนหนึ่งของห้องสมุดได้นั้น ห้องสมุดจะคงอยู่ในความทรงจำของผู้ใช้ตลอดไป | - | |
การใช้งานฐานข้อมูล Gale eBooks และฐานข้อมูลวารสารสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง Gale OneFile | ไม่พบปัญหาและอุปสรรคในการเข้ารับการอบรม | อบรมในหัวข้อ การใช้งานฐานข้อมูล Gale eBooks และฐานข้อมูลวารสารสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง Gale OneFile
ฐานข้อมูล eBooks ที่ทันสมัยที่สุด
ใช้งานได้ไม่ต้องรอยืม-คืน ฟังเนื้อหาได้ ดาวน์โหลด
ไฟล์เสียงอ่านได้ แปลเนื้อหาเป็นภาษาไทยได้ มี
บรรณานุกรมอัตโนมัติ สามารถเชื่อมต่อบัญชี
GoogleDrive และ Microsoft OneDrive ได้
และใช้งานได้ทุกที่ทุกเวลา เพียงแค่ Sign in เข้า
ระบบด้วย Email ของมหาวิทยาลัย
|
| สามารถในหน้าเนื้อหานี้ ยังปรากฎเครื่องมือ อีกมากมาย อาทิเช่น
• Table of Contents ผู้ใช้งานสามารถข้ามตอนของ
เนื้อหา ภายในเล่มเดียวกันได้จากเมนูนี้
• Book View คือการแสดงผลในรูปแบบ PDF
• Cite เมนูการอ้างอิงบรรณานุกรม และการนำไปใช้
กับ Software อื่นๆ เช่น EndNote เป็นต้น
• Send to เครื่องมือช่วยเหลือ ในการส่งออกเนื้อหา
ไปยังบัญชีระบบ Cloud system: GoogleDrive
และ Microsoft OneDrive เพียงแค่คลิกเดียว หรือ
จะเลือกส่งออกไปยัง Email ซึ่งสามารถส่งไปยัง
หลายๆ Email Address ได้พร้อมๆ กัน
• Download เมนูสำหรับการบันทึกไฟล์ PDF ลงใน
เครื่อง/อุปกรณ์ ที่ผู้ใช้งานกำลังใช้งานอยู่
• Print เมนูสั่งพิมพ์เนื้อหา ตามที่ต้องการ
• Get Link ผู้ใช้งานสามารถจัดเก็บ URL หน้าของ
เนื้อหาที่กำลังใช้งาน ได้จากการคลิกที่เมนูนี้
• Highlight And Notes หากผู้ใช้งานได้ป้ายสีหรือ
เพิ่มบันทึก เครื่องมือชนิดนี้จะแสดงจำนวนการ
กระทำไว้เป็นตัวเลขในเครื่องหมายวงเล็บ เมื่อ
ผู้ใช้งานคลิกที่เมนูนี้ ระบบก็จะแสดงข้อมูลให้ทราบ | - | |
การพัฒนาห้องสมุดสีเขียว : บทเรียนและความท้าทาย | ไม่พบปัยหาและอุปสรรค์ | สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี มีความยินดีเป็นอย่างยิ่งที่ท่านให้ความสนใจเข้าร่วมงานเสวนาและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง "การพัฒนาห้องสมุดสีเขียว : บทเรียนและความท้าทาย" |
| - การประหยัดน้ำและประหยัดไฟกับทางห้องสมุด
- การรณรงค์การปิดไฟตอนพักกลางวัน
- การปรับปรุงอาคารให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
- ลดการใช้พลังงาน
- การคัดแยกขยะ
- การลดปริมาณขะภายในห้องสมุด | - | |
อบรมการออกแบบบริการภาครัฐ Government Digital Service Design | | |
| | | |
อบรมความรู้เกี่ยวกับพลังงานทดแทนจากขยะด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ | | |
| | | |
อบรมทักษะด้าน DigitalLiteracy | | |
| | | |
การพัฒนาข้าราชการและบุคลากรสายสนับสนุนเพื่อเลื่อนตำแหน่งชำนาญการและระดับอื่นๆ | ไม่มีประสบการณ์ในการเขียนคู่มือเนื่องจากประสบการณ์เข้าทำงานพึ่งได้ระยะเวลา1ปี 8 เดือน | - ฟังบรรยายแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดทำคู่มือของบุคลากรประจำสำนักวิทยบริการจำนวนทั้งหมด 17 ท่าน
-เทคนิคการเขียนคู่มือตั้งแต่บทที่ 1 -บทที่5 โดยวิทยากร
-แนะนำการเขียนคู่มือต่อสัญยาและการจัดรูปแบบการเขียนคู่มือ |
| -ได้รับประสบการณ์ในการเขียนเพิ่มมากขึ้น
-มีแนวทางในการจัดเขียนคู่มือทั้ง 5 บท
-ได้เทคนิดและแนวคิดในการจัดทำคู่มือ | | |
การอ้างอิงและการเขียนบรรณานุกรมรูปแบบ APA | ไม่พบปัญหาและอุปสรรค์ในการเข้ารับการอบรม | การอ้างอิงและการเขียนรายการบรรณานุกรมรูปแบบ APA
จากการเข้ารับการอบรมวิทยากรได้กล่าวถึงการอ้างถึงข้อมูลที่ถูกนำมาใช้ในการประกอบเอกสารต่างๆ ที่รวบรวมไว้ในรายงานหรือเอกสารอื่นๆที่เราจัดทำขึ้น คือ
1. อิงอ้างอิงแทรกในเนื้อหา
การการระบุแหล่งที่มาอ้างอิงไว้ในวงเล็บแทรกไว้ในเนื้อหาที่หน้าข้อความอ้าง
2. การเขียนบรรณานุกรม
ระบุเอกสารที่ใช้อ้างอิงไว้ท้ายบทความ โดยเรียงตามลำดับตัวอักษรใช้รูปแบบการเขียนอ้างอิงตามระบบ APA
เทคนิคการเขียนบรรณานุกรม
1. Microsoft Word
2. โปรแกรม Mendeiey Desktop
ความสําคัญของการอ้างอิงการนําแนวคิด ความรู้ รูปภาพ แผนภูมิ และสาระสําคัญ จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ มาประกอบการเขียนหรือการสร้างสรรค์งานชิ้
นใหม่จะต้องระบุแหล่งที่มาของข้อมูล การอ้างอิงแสดง
ให้เห็นพื้นฐานความรู้และสิ่งที่มีอิทธิพลต่อแนวคิดของผู้เขียน การอ้างอิงเป็ นการให้เกียรติและเคารพเจ้าของต้นฉบับ และหลีกเลี่ยงปัญหาการขโมยความคิดและความรู้ของผู้อื่นการอ้างอิงแหล่งข้อมูลมีหลายรูปแบบ สถาบันการศึกษาและสมาคมวิชาชีพได้พัฒนารูปแบบและหลักเกณฑ์การอ้างอิงเพื่อให้อาจารย์ นักวิจัย นักวิชาการและนักศึกษาได้ใช้สําหรับสร้างสรรค์งานวิชาการ |
trainreport_001207_6.pdf
| ได้รับความรู้และเทคนิคในการเขียนบรรณานุกรมมากขึ้น ได้รับความรู้เรื่องการเขียนอ้างอิงในโปรแกรม Microsoft Word และโปรแกรม Mendeiey Desktop | - | |
อบรมการใช้งานฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อการสืบค้น จำนวน ๔ ฐาน โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุดในประเทศไทย (ThaiLIS) ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๒ | ไม่ปัญหาและอุปสรรค์ | เรียนรู้เกี่ยวกับเรื่องการสืบค้นข้อมูล ในระบบฐานข้อมูลออนไลน์ EBSCO
โดยมีเทคนิคต่างๆ ที่ทำให้ผู้ใช้บริการสามารถสืบค้นข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว และตรงตามความต้องการ ตัวอย่างเช่น
- การบันทึกไฟล์ข้อมูล
- การค้นหาข้อมูลที่แคบลง
- การใช้คำค้นในการค้นหาข้อมูล
- การค้นหาข้อมูลจากกว้างไปแคบ
- การอ้างอิงเอกสาร และรายการบรรณานุกรม |
| ได้รับความรู้และเทคนิคต่างๆเพื่อนำมาปรับใช้การใช้ฐานข้อมูลออนไลน์ EBSCO
และนำไปพัฒนาการการทำงานของตนเองต่อไป | | 11/04/2562 |
อบรมการใช้งานฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อการสืบค้น จำนวน ๔ ฐาน โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุดในประเทศไทย (ThaiLIS) ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๒ | ไม่พบปัญหาและอุปสรรค์ | - การสร้าง search statement คือ คำถาม หรือ กรอบแนวคิด หรือ
หัวข้อที่จะใชใ้นการสืบค้นในฐานข้อมลู ออนไลน์ เพื่อประสิทธิผลการสืบค้นให้ครอบคุมมากขึ้น
- การใช้เครื่องหมายหรือสัญญาลักษณ์ในการสืบค้น
เครื่องหมาย * เครื่องหมายอัญประกาศ ('' ... ") เครื่องหมายวงเล็บ (....)
- การเชื่อมคำค้น
โดยใช้ AND , OR ,NOT,NEAR เพื่อกำหนดผลการสืบค้นให้ทุกคำที่ค้นหาอยู่ในเอกสารเดียวกัน
- วิธีการสืบค้น
วิธีการสืบค้นจากหัวเรื่อง คือ ศัพท์บังคับหรือศัพท์ควบคุม ซึ่งคำศัพท์แต่ละคำจะทำหน้าที่ควบคุมศัพท์ที่มีความหมายเหมือนกันรวมเข้าด้วยกัน และจัดทำเป็นชุดคำศัพท์ที่เรียกว่าหัวเรื่อง
|
| ได้รับความรู้เพิ่มเติมจากการเข้าอบรมเรื่องของฐานข้อมูลโดยเนื้อหาของการอบรมจะเน้นเรื่องการใช้คีเวิดในการสืบค้นข้อมมูล เพื่อที่การค้นหาข้อมูลนั้นรวดเร็วขึ้นและได้เนื้อหาเฉพาะเจาะจง | | 11/04/2562 |
โครงการอบรมภาษาอังกฤษสำหรับบุคคลากรทางวิชาชีพบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์เพื่อรองรับประชาคมอาซียน สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ | ไม่สามารถเข้าร่วมฟังบรรยายครบ 3 วันตามกำหนด | - การฝึกออกเสียง s ในคำศัพท์ และประโยคที่ใช้พูด
- การสนทนาเป็นภาษาอังกฤษ
- การแต่งประโยค เพื่อการสนทนา |
| มีทักษะการใช้ภาษาอังกฤษได้ในระดับดี สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนสามารถนำทักษะภาษาอังกฤษไปใช้กับการปฏิบัติงานของตนเองได้ | | 11/04/2562 |
โครงการประชุมสามัญ และประชุมวิชาการประจำปี 2561 ชมรมบรรณารักษ์สถาบันอุดมศึกษา เรื่อง เปลี่ยนมุมคิด พลิกโฉมใหม่-บริบทจากผู้ใช้ห้องสมุด | ไม่พบปัญหาและอุปสรรค์ | บทบาทของห้องสมุดในอนาคต จะต้องมีการพัฒนาการให้บริการด้านสารสนเทศและสื่อต่าง ๆ ที่ทันสมัยและสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ การการเตรียมความพร้อมให้นิสิตนักศึกษาในศตวรรษที่ 21 การใช้ประโยชน์สูงสุดจากความรู้ความชำนาญของบุคลากรทั้งด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อต่างๆ การจัดสรรพื้นที่ใช้สอยในห้องสมุดให้เกิดประโยชน์สูงสุด การสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างห้องสมุด การให้บริการที่รวดเร็วขึ้นกว่าเดิม ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่มาช่วยทั้งด้านบริหารจัดการ และการลดการใช้แรงงาน |
| จากการเข้ารับการอบอมได้ทราบถึงแนวทางการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศใหม่ๆ การเปลี่ยนแปลงในยุคดิจิทัล และกลยุทธ์ต่างๆ และการแลกเปลี่ยนความคิดของแต่หน่วยงาน ซึ่งเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการนำมาปรับใช้และนำมาส่งเสริมในการให้บริการของสำนักวิทยบริการเพื่อดำเนินการต่อไป | | 11/04/2562 |
อบรมการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศจากฐานข้อมูลออนไลน์ EBSCO | ไม่พบปัญหาและอุปสรรค์ | การสืบข้อข้อมูลจาก Metadata (ดรรชนีวารสารและบรรณานุกรม) EBSCO
เพื่อนำข้อมูลของรายการบรรณานุกรมไปประกอบการอ้างอิงของข้อมูล โดยหาลิงค์ได้จากข้อมูล Metadata โดยข้อมูลที่ถูกใช้จำนวนมากจะมีสัญลักษณ์บ่งบอก ว่าข้อมูลนี้ถูกนำไปใช้มากน้อยเพียงใด เพื่อช่วยในการตัดสินก่อนนำข้อมูลนั้นมาใช้
และยังมีลิงค์อื่นๆ ที่เชื่อมต่อไปยังข้อมูลที่คล้ายกันให้เราสามรถเลือกใช้บริการได้หลากหลาย
|
trainreport_001207_3.pdf
| 1. สามารภสืบค้นข้อมูลในฐานข้อมูล EBSCO ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. สามารถอธิบายหลักการของบริการ EBSCO ได้
3. สามารถใช้งานเครื่องมือต่างๆ บน EBSCO Platform ได้
4. แนะนำผู้ใช้งาน เครื่องมือต่างๆบน ฐานข้อมุล จาก EBSCO
5. ทราบช่องการติดต่อเพื่อส่งข้อเสนอแนะ | | 11/04/2562 |