กลับไป
   
ข้อมูลส่วนตัว
ชื่อ - สกุล :  นางสาวณัฐฐิดา มากหมู่
ประเภทบุคลากร :  ลูกจ้างชั่วคราว
สังกัด/หน่วยงาน :  ศูนย์วิทยบริการ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
ตำแหน่งงาน :  เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป
สถานะ :  ลาออก

  ประวัติการบริหาร  
ไม่มีข้อมูล
     
  ประวัติการศึกษา  
ระดับปีที่สำเร็จวุฒิการศึกษาหลักสูตรสาขาวิชาสถาบันประเทศ
ปริญญาตรี2551วิทยาศาสตร์บัณฑิตวิทยาการคอมพิวเตอร์Computer Scienceมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์Thailand
ปริญญาโท2557ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษาEducational AdministrationมหาวิทยาลัยกรุงเทพThailand
   
ผลงานทางวิชาการ

ไม่พบข้อมูลผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง


ผลงานวิจัยเชิงโครงการ

ไม่มีข้อมูล

     
  รายงานการฝึกอบรม/ดูงาน  
หัวข้อปัญหา/อุปสรรคสรุปผลไฟล์แนบผลที่ได้รับข้อเสนอแนะวันที่รายงาน
เตรียมความพร้อมสู่ Microsoft Office Specialist (MOS)(Excel)ก่อนการอบรมมีความรู้ไม่เพียงพอในการอบรมครั้งนี้ เนื่องจากโปรแกรมการอบรมเป็นภาษาอังกฤษทั้งหมด ซึ่งเป็นปัญหาก่อนการอบรมค่ะการอบรม Microsoft Office Specialist (MOS)(Excel) เป็นการเครื่องมือ เพื่อการวิเคราะห์ออกแบบเชิงแผนภูมิที่โดดเด่น และน่าสนใจมากขึ้น ทั้งการรองรับการบันทึกไฟล์ขึ้นระบบ Cloud และระบบ Microsoft OneDrive ช่วยให้ทำงานได้ทุกที่ ทุกเวลาในขณะที่กำลังเชื่อมต่อระบบเครือข่าย และยังได้ออกแบบ การใช้งานได้รองรับทั้งบน Computer Tablet และ Windows Phone จากสถานที่ตำแหน่งต่างๆ ทั่งโลก นำมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการทำงาน ด้วยความสามารถที่มากขึ้น การอบรม Microsoft Office Specialist (MOS)(Excel) ในครั้งนี้สามารถนำไปปรับใช้ในการทำงาน ซึ่งเป็นการพัฒนาตนเองให้ก้าวทันกับเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลง และตอบสนองนโยบายขององค์กรที่ผลักดันให้บุคลากรได้รับความรู้และสามารถนำความรู้มาต่อยอดและพัฒนาให้กับตนเองและผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นควรมีการอบรมให้กับบุคลากรในองค์กร หากมีโครงการในลักษณะแบบนี้อีก แบบหมุนเวียนบุคลากรเข้าอบรมให้ทั่งถึง 
โครงการ “การจัดการความรู้ เรื่อง การทำคู่มือปฏิบัติงานและงานวิจัย”      
การศึกษาแบบเปิดเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ภายใต้แผนดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (Lifelong Learning Space for Thailand Digital Economy)-โครงการระบบสื่อสาระออนไลน์เพื่อการเรียนรู้ทางไกลเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในวโรกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘ เป็นการพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอน ออนไลน์เพื่อการเรียนรู้ขนาดใหญ่ ที่จะส่งผลให้ได้สื่อสาระที่ครูสามารถนําไปใช้สร้างสื่อการสอน รวมทั้งเป็นระบบ eLearning เพื่อการเรียนรู้ทางไกลสําหรับนักเรียนทั่วราชอาณาจักร ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ทั้งนี้โครงการฯ ได้ดําเนินการพัฒนาระบบ หลักไว้สองระบบใหญ่ ได้แก่ ๑. คลังเก็บภาพ คลิปวิดีโอ แผนภาพ ผังมโนทัศน์ แบบทดสอบ เกมการศึกษา สื่อแอนิเมชั่นเพื่อใช้ในการศึกษาที่ครู ทุกคนสามารถเข้าถึง นํามาปรับปรุง และนําเอาไปใช้งานโดยไม่ละเมิดกฎหมายลิขสิทธิ์ ที่เรียกว่า คลังทรัพยากรการศึกษาแบบ เปิด (OER: Open Educational Resources) ๒. ระบบบริหารจัดการเรียนการสอนออนไลน์แบบเปิดสําหรับมหาชน (Massive Open Online Courses: MOOC) ที่พร้อมใช้โดยครู อาจารย์ นักเรียนทุกระดับชั้น และบุคคลทั่วไป ซึ่งจัดระบบให้สอดคล้องกับหลักสูตรการสอน และเพื่อการ ดําเนินชีวิต โครงการฯ นี้จะเป็นการก้าวสู่การเรียนการสอนรูปแบบใหม่ที่เน้นความร่วมมือ อันจะช่วยสร้างการเรียนรู้ที่มีคุณค่า เกิดการแบ่งปันความรู้ ไม่ยึดถือในความเป็นเจ้าของมากเกินจนไปขัดโอกาสการเข้าถึงโอกาสการเรียนรู้ของผู้อื่น สนับสนุน แนวคิดการสร้างช่องทางการเรียนรู้ที่เข้าถึงได้อิสระเสรี แนวคิดของการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) โดยมีหัวใจสําคัญอยู่ที่การแบ่งปันแหล่งทรัพยากรด้านการศึกษาที่มีคุณภาพสู่สังคมโลก เพื่อนําไปใช้ประโยชน์ทางด้าน การศึกษาได้อย่างเสรีต่อไป ความสําเร็จเบื้องต้นของโครงการฯ นอกจากการนําเทคโนโลยีที่เหมาะสมเข้ามาประยุกต์ใช้ได้อย่างเป็นรูปธรรม ยังได้รับความสนใจร่วมโครงการจากหน่วยงานต่างๆ อันได้แก่ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดําริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดําริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สถาบันส่งเสริม การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) สํานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เท 1) ได้รับความรู้และความเข้าใจการใช้ลิขสิทธิ์เป็นธรรมในการเรียนการสอนและสัญญาอนุญาตที่เกี่ยวข้องในการเรียนการสอนแบบเปิดอย่างถูกต้อง 2) ได้เรียนรู้เกี่ยวกับคุณธรรมและจริยธรรมทางด้านวิชาการอย่างเป็นรูปธรรมผ่านเทคโนโลยีแบบเปิด ที่มีการจัดการเรื่องการนำทรัพย์สินทางปัญญา 3) ได้รับแนวคิดและแนวปฏิบัติในการร่วมกันสร้างสรรค์องค์ความรู้ทั้งที่เป็นตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการการอาชีพ และการดำเนินชีวิต ผ่านเทคโนโลยีที่เหมาะสม 4) ได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างหน่วยงาน และเป็นกรณีศึกษาและแนวทางปฏิบัติที่ดีสำหรับนำไปประยุกต์ใช้ความรู้ในการเรียนการสอนแบบเปิด  
การศึกษาไทยเพื่ออนาคต (Conference for Thailand Education Future (CTEF2015))1) การเดินทางการจราจรค่อนข้างติดขัด ทำให้การเข้าประชุมวิชาการดังกล่าวไปล่าช้านกว่าเวลาที่กำหนด 2) สถานที่จอดรถมีจำนวนน้อย จึงทำให้ต้องใช้เวลาในการหาที่จอดรถพอสมควร Smart Education คือ ระบบการศึกษาที่มีการบริหารจัดการที่ดูดีทันสมัย โก้เก๋ เฉลียวฉลาด โดยใช้ระบบไอซีที เป็นเครื่องมือในการจัดการศึกษาและจัดการเรียนการสอนที่มีคุณภาพ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจ อย่างกว้างขวาง อันจะก่อให้เกิดการคิดวิเคราะห์เป็น และพัฒนาความรู้ความสามารถ ให้ต่อยอดขยายวง สิ่งที่เป็นประโยชน์ไปยังผู้อื่นได้อย่างสะดวกสบาย รวดเร็วและง่ายดาย เทคโนโลยีและสื่อที่ใช้ในการดังกล่าวจะมีวิธี การและรูปแบบต่าง ๆ เช่น การใช้แท็บเล็ต (Tablet) สมาร์ทโฟน (Smart Phone) การใช้คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก (Notebook) สำหรับการเรียน ซึ่งในปัจจุบันความรู้กลายเป็นสิ่งที่สามารถเรียนฟรี และหาได้ตลอดเวลาทั่วโลก รวมทั้ง ในด้านของพฤติกรรมของผู้เรียนที่เปลี่ยนไป การประชุมเชิงปฏิบัติการ "การศึกษาไทยเพื่ออนาคต CTEF2015" เป็นการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการจัดการเรียนการสอน มุ่งให้นักเรียน/นักศึกษาเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนมากยิ่งขึ้นจากเดิม สามารถรสร้างเยาวชนยุคใหม่ที่มีความเข้มแข็งทางปัญญา มีความสนใจใฝ่รู้ และมีทักษะ การแสวงหาความรู้และแก้ปัญหาด้วยตนเอง ผ่านกระบวนทัศน์ใหม่ทางการศึกษาในศตวรรษที่ 21 เป็นเวทีการประชุมวิชาการพัฒนาคุณภาพการศึกษาไทยเพื่ออนาคต ได้แลกเปลี่ยนความรู้ในกลุ่มผู้เกี่ยวข้องกับการศึกษาในทุกระดับ และแลกเปลี่ยนแนวทางประสบการณ์ เกี่ยวกับ เครื่องมือ ยุคใหม่เพื่อนำไปสู่การศึกษาไทยในอนาคต รวมถึงได้ร่วมมือในการส่งเสริมให้เกิดกิจกรรม และนวัตกรรม ทางด้านการศึกษา เพื่อนำไปสู่การเรียนรู้ อย่างสร้างสรรค์ ในทุกสาระวิชาควรให้มีการจัดประชุมในลักษณะแบบนี้อีกหลายๆครั้ง ต่อปี 
โครงการพัฒนาบุคลากรสู่มืออาชีพ ได้รับความรู้หลากหลายรูปแบบ ตั้งแต่การสร้างผลงานวิจัย ว่าเราต้องทำผลงานจากปัยหางานของตนเองที่เกิดขึ้น และแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ จึงจะเรียกว่าการพัฒนางานสู่มืออาชีพ    
อบรมการใช้ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เพื่อการสืบค้น 7 ฐานข้อมูล   trainreport_000985_6.pdf   06/03/2558
ศึกษาดูงาน      
การเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานด้วยจิตบริการและการพัฒนาบุคลิกภาพ      
ศึกษาดูงานระบบการบริหารคุณภาพตามการรับรองมาตรฐาน ISO 9001:2008      
การอบรมเชิงปฏิบัติการ ด้านการใช้งานโปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติALIST       
แนะนำสารสนเทศการใช้งานสารสนเทศมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสววรค์