การอบรม "การเขียนอ้างอิงรูปแบบ APA สำหรับบทความวิชาการและวิจัย" ออนไลน์ | | การอบรม "การเขียนอ้างอิงรูปแบบ APA สำหรับบทความวิชาการและวิจัย" ออนไลน์ วิทยากรบรรยาย โดย ผศ.ดร.นราธิป ปิติธนบดี |
| 1. ได้รับความรู้ ประเภทของการอ้างอิง การอ้างอิงหน้าข้อความ และการอ้างอิงท้ายข้อความ เพิ่มมากขึ้น
2. ได้รับความรู้ และความเข้าใจในหลักการเขียนอ้างอิงรูปแบบ APA สำหรับบทความวิชาการและวิจัย เพิ่มมากขึ้น
3. ได้รับความรู้ และความเข้าใจในหลักการเขียนหลักการเขียนอ้างอิงรูปแบบ APA สำหรับบรรณานุกรมของหนังสือ บทความจากวารสาร บทความจากหนังสือพิมพ์ วิทยานิพนธ์ ข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต ฯลฯ เพิ่มมากขึ้น
4. สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในทางปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ | | 17/03/2566 |
การอบรมเชิงวิชาการการลงรายการสารสนเทศงานห้องสมุด | | การอบรมเชิงวิชาการการลงรายการสารสนเทศงานห้องสมุด บรรยายโดย คุณวนัทวิรา ฉันทะจำรัสศิลป์ เจ้าหน้าที่สารสนเทศ สวทช. |
| 1. ได้ความรู้ และความเข้าใจในหลักการลงรายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศตามมาตรฐาน เพิ่มมากขึ้น
2. ได้รับความรู้ ได้แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ในด้านการลงรายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศ
3. สามารถนําความรู้ที่ได้รับไปใช้ในทางปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ | | 17/03/2566 |
การประชุมวิชาการระดับชาติ PULINET ครั้งที่ 13 | | การประชุมวิชาการระดับชาติ PULINET ครั้งที่ 13
1. รับฟังการบรรยายเรื่อง ""การพลิกโฉมห้องสมุดในบริบทการจัดการการอุดมศึกษาแนวใหม่ : Reinventing Libraries in the Context of new Higher Education" โดย ศาสตราจารย์ ดร.กุลธิดา ท้วมสุข
2. การเสวนาเรื่อง "ห้องสมุดโฉมใหม่ในโลกแห่งความผันผวน : New Look of Library in a VUCA World"
3. การบรรยายเรื่อง "นวัตกรรมการเรียนรู้เสมือนจริง Metaverse : ก้าวต่อไปของห้องสมุดในยุค VUCA-BANI Wold"
4. การนำเสนอผลงานวิชาการประเภทโปสเตอร์
5. การนำเสนอผลงานวิชาการประเภทบรรยาย จำแนกตามกลุ่ม |
| 1. ได้รับความรู้จากรับฟัง การบรรยายเรื่อง ""การพลิกโฉมห้องสมุดในบริบทการจัดการการอุดมศึกษาแนวใหม่ : Reinventing Libraries in the Context of new Higher Education" เพิ่มมากขึ้น
2. ได้รับความรู้จากรับฟัง การเสวนาเรื่อง "ห้องสมุโฉมใหม่ในโลกแห่งความผันผวน : New Look of Library in a VUCA World" เพิ่มมกขึ้น
3. ได้รับความรู้จากรับฟัง การบรรยายเรื่อง "นวัตกรรมการเรียนรู้เสมือนจริง Metaversw : ก้าวต่อไปของห้องสมุดในยุค VUCA-BANI World" เพิ่มมากขึ้น
4. ได้ร่วมรับฟังการนำเสนอผลงานวิชาการประเภทโปสเตอร์
5. ได้ร่วมนำเสนอผลงานวิชาการ และร่วมรับฟังการนำเสนอผลงานวิชาการประเภทบรรยาย จำแนกตามกลุ่ม | | 17/03/2566 |
การอบรมเบื้องต้น เรื่อง "การบันทึกข้อมูลห้องสมุดสีเขียว" (แบบออนไลน์) | | 1. ได้เข้าร่วมการอบรมเบื้องต้น เรื่อง "การบันทึกข้อมูลห้องสมุดสีเขียว" (แบบออนไลน์) บรรยาย โดย นางธนาภรณ์ ฉิมแพร
2. ได้รับฟังการบรรยาย โดย ดร.อารีย์ ธัญกิจจานุกิจ เรื่องแผนการตรวจประเมินห้องสมุดสีเขียว ของชมรมห้องสมุดสีเขียว ประจำปี 2566 |
| 1. ได้รับความรู้ ในการเข้าร่วมการอบรมเบื้องต้น เรื่อง "การบันทึกข้อมูลห้องสมุดสีเขียว" เพิ่มมากขึ้น
2. ได้รับความรู้ จากการที่ได้รับฟังการบรรยาย เรื่องแผนการตรวจประเมินห้องสมุดสีเขียว ของชมรมห้องสมุดสีเขียว ประจำปี 2566 | - | 16/03/2566 |
การประชุมสามัญประจำปี 2565 ชมรมห้องสมุดสีเขียว | | การประชุมสามัญประจำปี 2565 ชมรมห้องสมุดสีเขียว
1. ได้เข้าร่วมประชุมสามัญประจำปี 2565 ชมรมห้องสมุดสีเขียว รับฟังการบรรยาย โดยที่ปรึกษาและคณะกรรมการบริหาร ชมรมห้องสมุดสีเขียว สมาชิกชมรม และผู้สนใจ
2. รับฟังการบรรยายพิเศษเรื่อง ฝ่าวิกฤตโลกร้อน กับห้องสมุดสีเขียว โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธรณ์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ ผู้เชี่ยวชาญด้านนิเวศทางทะเล และรองคณบดี คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ |
| 1. ได้เข้าร่วมประชุมสามัญประจำปี 2565 ชมรมห้องสมุดสีเขียว รับฟังการบรรยาย โดยที่ปรึกษาและคณะกรรมการบริหาร ชมรมห้องสมุดสีเขียว ดร.อารีย์ ธัญกิจจานุกิจ เรื่องแผนการตรวจประเมินห้องสมุดสีเขียวของชมรมห้องสมุดสีเขียว ประจำปี 2566 และการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ของชมรมห้องสมุดสีเขียว ในปี 2565
2. ได้รับความรู้จากฟังการบรรยายพิเศษเรื่อง ฝ่าวิกฤตโลกร้อน กับห้องสมุดสีเขียว โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธรณ์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ | | 15/03/2566 |
การอบรมเชิงปฏิบัติการความรู้เบื้องต้นด้านทรัพย์สินทางปัญญา หลักสูตร "การบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญาและการนำไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์" | | ได้เข้าร่วม การอบรมเชิงปฏิบัติการความรู้เบื้องต้นด้านทรัพย์สินทางปัญญา หลักสูตร "การบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญาและการนำไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์" บรรยายโดย ผอ.จิราภรณ์ เหลืองไพรินทร์ ผู้อำนวยการศูนย์ทรัพย์สินทางปัญญา มหาวิทยาลัยขอนแก่น |
| 1. ได้รับความรู้ ในการนำทรัพย์สินทางปัญญาไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์อย่างไรบ้าง
2. ได้รับความรู้ ในการนำลิขสิทธิ์ และการได้รับการคุ้มครองอย่างไร กับสิทธิแต่เพียงผู้เดียวของผู้สร้างสรรค์ที่จะกระทำการใด ๆ เกี่ยวกับงานที่ผู้สร้างสรรค์ได้ทำขึ้นตามประเภทลิขสิทธิ์ที่กฎหมายกำหนด
3. ได้รับความรู้ ในการนำสิทธิบัตร คือ หนังสือสำคัญที่รัฐออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์ และได้รับความรู้ของสิทธิบัตรประเภทต่าง ๆ และการให้ความคุ้มครองความคิดสร้างสรรค์ของผลิตภัณฑ์ | | 15/03/2566 |
อบรม โครงการ "กิจกรรมการจัดทำสิ่งประดิษฐ์ DIY จากวัสดุเหลือใช้" | | ได้รับฟังการบรรยายและฝึกปฏิบัติ การจัดทำสิ่งประดิษฐ์ DIY จากวัดุเหลือใช้ (ตระกร้าจากกล่องนม/กล่องน้ำผลไม้)
วิทยากรบรรยายโดย นางสาวทิพาตินันท์ สุดแจ้ง (บรรณารักษ์)
สำนักวิทยบริการวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมป์ |
| 1. บุคลากรศูนย์วิทยบริการมีความรู้ความเข้าใจ และมีความคิดสร้างสรรค์ ในการประดิษฐ์ DIY จากขยะหรือวัสดุเหลือใช้เพิ่มมากขึ้น
2. สามารถลดปริมาณขยะและวัสดุเหลือใช้ภายในหน่วยงานได้
3. ศูนย์วิทยบริการสามารถเป็นหน่วยงานต้นแบบด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมให้แก่หน่วยงานอื่น ๆ ในมหาวิทยาลัยฯ ตลอดจนหน่วยงานภายนอกในท้องถิ่นได้
4. สามารถนำสิ่งประดิษฐ์ DIY จากวัสดุเหลือใช้ ไปใช้ประโยชน์ได้จริง
5. สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการประดิษฐ์สิ่งอื่น ๆ ได้
6. สามารถนำความรู้ไปถ่ายทอดการทำสิ่งประดิษฐ์แก่ผู้อื่นได้
| | 13/09/2565 |
อบรม “โครงการยกระดับศักยภาพของครูผู้ดูแลห้องสมุด (Upskill & Reskill)” (ออนไลน์) | | ได้รับฟังหัวข้อการอบรม
• การบริหารจัดการ การให้บริการห้องสมุด และระบบห้องสมุดอัตโนมัตสำหรับห้องสมุด
• หลักการจัดหมวดหมู่หนังสือห้องสมุดโรงเรียน ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ศูนย์บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง |
| ได้รับความรู้
• การบริหารจัดการ การให้บริการห้องสมุด และระบบห้องสมุดอัตโนมัตสำหรับห้องสมุด
• หลักการจัดหมวดหมู่หนังสือห้องสมุดโรงเรียน ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ศูนย์บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
• นำความรู้ที่ได้รับนำมาปรับปรุง และพัฒนางานที่ปฏิบัติได้มากขึ้น | | 12/09/2565 |
อบรมแนวทางการดำเนินงานห้องสมุดสีเขียว ครั้งที่ 2 (ออนไลน์) | | ได้รับฟังการการบรรยาย และการดำเนินงานห้องสมุดสีเขียว โดย ดร.อารีย์ ธัญกิจจานุกิจ |
| ได้รับฟังแล้วสามารถนำมาเป็นแนวทางในการพัฒนางานห้องสมุดสีเขียว ของโครงการห้องสมุดสีเขียว (์NSRU Library) ในหมวดที่รับผิดชอบได้มากขึ้น | | 12/09/2565 |
ประชุมออนไลน์ เรื่อง การเตรียมความพร้อมรับการตรวจประเมินห้องสมุดสีเขียว ประจำปี พ.ศ. 2565 | | |
| ได้รับความรู้ และข้อมูลในการเตรียมความพร้อมรับการตรวจประเมินห้องสมุดสีเขียว ประจำปี พ.ศ. 2565 โดย ดร.อารีย์ ธัญกิจจานุกิจ และ นางสาวธนาภรณ์ ฉิมแพ | | 12/09/2565 |
การสัมมนาเชิงวิชาการ เรื่อง ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ALIST Users Group ครั้งที่ 11 (Automated Library System for Thai Higher Education Institutes Users Group) | | ส่วนงานวารสารและสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง (Serials Control Module)
ส่วนงานวารสารและสิ่งพิมพ์ต่อเนื่องเป็นส่วนการจัดการกับข้อมูลวารสาร ประกอบด้วยฟังก์ชัน
การทำงานหลักดังนี้
- รูปแบบการป้อนข้อมูลบรรณานุกรมอิงมาตรฐาน MARC21
- สามารถกำหนด Publication Pattern แบบมาตรฐานและไม่เป็นมาตรฐานได้
- สามารถกำหนดรูปแบบข้อมูล Enumeration Data ได้ 6 ระดับ และ Chronological
Data ได้ 4 ระดับ
- สร้าง Check-in Card สำหรับการทำงานของวารสารแต่ละชื่อ
- สร้าง Block issue และกำหนด Expected date ตามรูปแบบการบอกรับล่วงหน้าได้
- Check-in ตัวเล่มได้หลายเล่มพร้อมกัน ซึ่งอาจจะมีข้อมูล Barcode หรือไม่มีก็ได้
- มีระบบการเตือนตัวเล่มเกินกำหนดได้รับ และสามารถทวงได้ผ่านทางอีเมล
|
| ได้รับฟังข้อมูล ส่วนงานวารสารและสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง (Serials Control Module) จากมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันกับผู้ดูแลระบบ และระหว่างมหาวิทยาลัย | | 12/09/2565 |
กิจกรรมพัฒนาและเผยแพร่ความรู้ด้านวิชาการ ครั้งที่ 2 ประจำปี 2565 เรื่อง Open Data : การปรับตัวของห้องสมุดในยุคสังคมดิจิทัล (ออนไลน์) | | กิจกรรมพัฒนาและเผยแพร่ความรู้ด้านวิชาการ ครั้งที่ 2 "Open data : การปรับตัวของห้องสมุดในยุคสังคมดิจิทัล
1. Open Government กับการเปิดเผยข้อมูล (Open) ”
วิทยากรบรรยายโดย นายไกลก้อง ไวทยการ ที่ปรึกษาสถาบันเทคโนโลยีเพื่อนวัตกรรมสังคม มูลนิธิบูรณชนบทแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์
2. มาตรฐานดิจิทัลภาครัฐ
วิทยากรบรรยายโดย ดร.อุรัชฎา เกตุพรหม ผู้อำนวยการฝ่ายมาตรฐานดิจิทัลภาครัฐ สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) (สพร.)
3. การปรับตัวของห้องสมุดในยุคการศึกษาแบบเปิด (Toward Open Access)
วิทยากรบรรยายโดย ดร.ฐิติมา ดีบุญมี ณ ชุมแพ ผู้จัดการงานบริการและจัดการความรู้ ฝ่ายบริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (STKS) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) |
| 1. ได้รับความรู้ ในเรื่อง Open Government กับการเปิดเผยข้อมูล (Open)
2. ได้รับความรู้ ในเรื่อง มาตรฐานดิจิทัลภาครัฐ
3. ได้รับความรู้ ในเรื่องการปรับตัวของห้องสมุดในยุคการศึกษาแบบเปิด (Toward Open Access) | | 13/09/2565 |
การเสวนาวิชาการเรื่อง “ทิศทางการพัฒนาวิชาชีพห้องสมุดในอนาคต แนวคิดและประสบการณ์จากผู้รับรางวัลบุคคลดีเด่น” (ออนไลน์) | | การเสวนาวิชาการเรื่อง “ทิศทางการพัฒนาวิชาชีพห้องสมุดในอนาคต แนวคิดและประสบการณ์จากผู้รับรางวัลบุคคลดีเด่น
วิทยากรบรรยาย โดย
1. นางสาวฐิติมา ฌะียรอนันตกุล
2. นางรุ่งเรือง สงเคราะห์
3. นางสาวสายฝน เต่าแก้ว
จัดโดย ชมรมบรรณารักษ์สถาบันอุดมศึกษา สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ
ร่วมกับ หอสมุดแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ |
| 1. ได้รับความรู้ ในเรื่อง ทิศทางการพัฒนาวิชาชีพห้องสมุดในอนาคต แนวคิดและประสบการณ์จากผู้รับรางวัลบุคคลดีเด่น
2. สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับปรุงและพัฒนางานห้องสมุดได้มากขึ้น
| | 13/09/2565 |
อบรมการจัดการขยะภายในหอสมุด และกิจกรรม 5ส (ออนไลน์) | | 1.ไดัรับฟังการบรรยาย เรื่อง การจัดการขยะภายในห้องสมุด"
2. ไดัรับฟังการบรรยาย เรื่อง กิจกรรม 5ส"
วิทยากรบรรยายโดย นางสาววิกาญดา บุญคง (นักเอกสารสนเทศชำนาญการ)
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม |
| 1. บุคลากรศูนย์วิทยบริการมีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานห้องสมุดสีเขียวเกี่ยวกับ การจัดการขยะ และกิจกรรม 5ส เพิ่มมากขึ้น
2. ศูนย์วิทยบริการสามารถเป็นหน่วยงานต้นแบบด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ให้แก่หน่วยงานอื่น ๆ ในมหาวิทยาลัยฯ ตลอดจนหน่วยงานภายนอกในท้องถิ่นได้ | | 13/09/2565 |
เรื่อง "ห้องสมุดกับการเป็นองค์กรที่มีการบริหารจัดการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน" ออนไลน์ | | ได้รับฟังการบรรยาย เรื่อง "ห้องสมุดกับการเป็นองค์กรที่มีการบริหารจัดการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน"
วิทยากรบรรยาย โดย ดร.มลิวัลย์ ประดิษฐธีระ
ผู้อํานวยการสานักหอสมุด และคณบดีวิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต
|
| 1. ได้รับความรู้ในเรื่องห้องสมุดกับการเป็นองค์กรที่มีการบริหารจัดการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
2. สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปพัฒนางาน ในการบริหารจัดการสิ่งที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมได้มากขึ้น | | |
อบรม หลักสูตร : อบรม Green Office สำนักงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม | | Green Office คือ สำนักงานและกิจกรรมต่างๆ ภายในสำนักงาน ที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุดโดยการใช้ทรัพยากร และพลังงานอย่างรู้คุณค่า มีแนวทางในการจัดการของเสียอย่างมีประสิทธิภาพ รวมไปถึงการเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ เครื่องใช้สำนักงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และที่สำคัญจะต้องปล่อยก๊าซเรือนกระจกออกมาในปริมาณต่ำ |
| ได้รับความรู้ ในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ภายในสำนักงาน ที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุดโดยการใช้ทรัพยากร พลังงานอย่าง คุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ มีการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ดีต่อสุขภาพของพนักงาน เป็นการยกระดับมาตรฐานสำนักงานให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้น ช่วยลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก เป็นส่วนหนึ่งในการช่วยลดโลกร้อน | | 12/09/2565 |
สัมมนาออนไลน์หัวข้อ : การจัดการขยะ ช่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมได้อย่างไร ? | | ได้รับฟังการบรรยาย หัวข้อ : การจัดการขยะ ช่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมได้อย่างไร ?
วิทยากรบรรยายโดย ดร.ชูศักดิ์ รักเสนาะ รักษาการผู้อำนวยการ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองอรัญญิก
จัดโดย สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร |
| 1. ได้รับความรู้ในการลด/คัดแยก ขยะมูลฝอย เพื่อก้าวสู่องค์กรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
2. เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจเรื่องภัยร้ายของขยะและการจัดการขยะในแต่ละประเภท | | |
สัมมนาความร่วมมือทางวิชาการ ด้านการพัฒนาเครือข่ายห้องสมุดสีเขียว ครั้งที่ 8 ประจำปี 2565 ภายใต้แนวคิด Green Society | | ได้รับฟังการบรรยายในโครงการ สัมมนาความร่วมมือทางวิชาการ ด้านการพัฒนาเครือข่ายห้องสมุดสีเขียว ครั้งที่ 8 ประจำปี 2565 ภายใต้แนวคิด Green Society มีดังนี้
1. SMART CITY FOR SDGS @TU โดย รศ.ดร.พิษณุ ตู้จินดา
2. ก๊าซเรือนกระจกกับการจัดการขยะ กรณีศึกษาการจัดการขยะของเทศบาลนครลำปาง และกรณีศึกษาของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปางโดย ผศ.ดร.พรรณทิชชา ธนตระกลศรี
3. การจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อมในรูปแบบเมืองอัจฉริยะ โดย ผศ.ดร.พฤกษ์ อักกะรังสี
4. เล่าสู่กันฟังกับชมรมห้องสมุดสีเขียว โดย ดร.อารีย์ ธัญกิจจานุกิจ |
trainreport_000736_60.pdf
| ได้รับฟังการการบรรยาย และการดำเนินงานของแต่่่่ละท่าน โดยได้รับฟังแล้วสามารถนำมาเป็นแนวทางในการพัฒนางาน ของโครงการห้องสมุดสีเขียว (์NSRU Library) ได้มากขึ้น
| | 23/05/2565 |
การฝึกอบรมการใช้ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เพื่อการสืบค้น โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุดในประเทศไทย (ThaiLIS) ประจำปี 2565 (ออนไลน์) | | ในปัจจุบันสารสนเทศเข้ามามีบทบาทต่อชีวิตประจำวันมากขึ้น โดยเฉพาะในด้านการเรียนการสอน การทำวิจัย ซึ่งทั้งหมดนี้เกี่ยวข้องกับอาจารย์ เจ้าหน้าที่ และนักศึกษา ระดับปริญญาตรี และระดับบัณฑิตศึกษา ฯลฯ โดยใช้แหล่งเรียนรู้สำหรับค้นคว้าหาความรู้จากห้องสมุดของมหาวิทยาลัย ที่มีทรัพยากรสารสนเทศให้บริการที่หลากหลาย
ซึ่งฐานข้อมูลออนไลน์ เป็นอีกทางเลือกหนึ่งของการเข้าถึงข้อมูลอย่างง่ายดาย และอย่างหลากหลาย เหมาะแก่การค้นคว้า ฐานข้อมูลออนไลน์เป็นทรัพยากรสารสนเทศที่มีความทันสมัย รวบรวมสารสนเทศไว้เป็นจำนวนมาก และหลากหลายสาขาวิชา ไม่ว่าจะเป็นสาขาทางวิทยาศาสตร์ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ การศึกษา ฯลฯ |
| - ได้รับความรู้ ในการใช้งานฐานข้อมูล ACM Digital Library
- ได้รับความรู้ ในการใช้งานฐานข้อมูล IEL
- ได้รับความรู้ ในการใช้งานฐานข้อมูล ACS Journal
- ได้รับความรู้ ในการใช้งานฐานข้อมูล SpringerLink – Journal
- สามารถนำความรู้ที่ได้รับ นำไปแนะนำ และถ่ายทอดให้กับผู้สนใจ และผู้ใช้
บริการได้มากขึ้น | | 30/03/2565 |
อบรมดับเพลิงเบื้องต้น | | ได้รับฟังการบรรยาย สาธิต และตอบข้อซักถาม (โดย คณะวิทยากร จากบริษัท ไฟร์วินเนอร์ แอนด์ เซฟตี้ จำกัด) ในหัวข้อดังนี้
- แนะนำประเภทถังดับเพลิง ตามสี เช่น สีแดง สีเขียว และสีเหลือง
- สาธิตวิธีดับเพลิง การใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ในการดับเพลิง
- การฝึกซ้อมดับเพลิง การใช้เครื่องมือดับเพลิงขั้นตอนประเภทแก๊ส
และน้ำมัน
- การอพยพหนีไฟ การช่วยเหลือ และเคลื่อนย้ายผู้ประสบ
ภัย |
| 1. ได้เรียนรู้วิธีป้องกันและปฎิบัติตัวเมื่อเกิดอัคคีภัย
2. ได้เรียนรู้วิธีช่วยเหลือผู้อื่นเมื่อเกิดอัคคีภัย
3. ได้เรียนรู้วิธีดับเพลิง การใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ในการดับเพลิง
4. ได้เรียนรู้ การใช้เครื่องมือดับเพลิงขั้นต้นประเภทแก๊สและน้ำมัน | | 01/04/2565 |
เข้าร่วมรับฟังคำแนะนำ จาก ดร.อารีย์ ธัญกิจจานุกิจ "โครงการห้องสมุดสีเขียว (NSRU Green Library)" | | ได้รับฟังคำแนะนำในการปรับปรุง และแก้ไขข้อมูล หมวดที่ 5 การบริหารจัดการและให้บริการห้องสมุดเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม "โครงการห้องสมุดสีเชียว (NSRU Green Library)" |
| สามารถนำคำแนะนำ ไปปรับปรุง และแก้ไขข้อมูล หมวดที่ 5 การบริหารจัดการและให้บริการห้องสมุดเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม "โครงการห้องสมุดสีเชียว (NSRU Green Library)" ในส่วนที่รับผิดชอบได้มากขึ้น | | 01/04/2565 |
อบรมการใช้งานฐานข้อมูล Gale Empowering Research | | GALE OneFile เป็นฐานข้อมูลที่รวมทุกสาขาวิชา ซึ่งจะรองรับการใช้งานทั้งสำหรับหอสมุดกลาง และห้องสมุดคณะของทางมหาวิทยาลัย ให้บริการในรูปแบบบทความ วารสารวิชาการ นิตยสาร e-Book ข่าวสาร รูปภาพ ลิงค์รับชมวีดีโอ และพอดแคสต์ |
| 1. ได้รับความรู้ และเทคนิค ในการใช้งานฐานข้อมูล Gale Empowering
Research (GALE OneFile)
2. สามารถนำความรู้ที่ได้รับ นำไปแนะนำ และถ่ายทอดให้กับผู้สนใจ และผู้ใช้
บริการได้มากขึ้น | | 10/03/2565 |
การเสวนาและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ "การพัฒนาห้องสมุดสีเขียว : บทเรียนและความท้าทาย" | | การเสวนาและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ "การพัฒนาห้องสมุดสีเขียว : บทเรียนและความท้าทาย" โดย
1. รศ.ดร.อมร เพชรสม ผู้อำนวยการสำนักงานวิทยทรัพยากร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2. ผศ.ดร.นพพล เผ่าสวัสดิ์ ผู้อำนวยการหอสมุดและคลังความรู้
มหาวิทยาลัยมหิดล
3. นางสาวเพชรประกายแก้ว ดวงหฤทัย ผู้อำนวยการกองบริหารงาน
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยแม่โจ้
4. นางปิยวรรณ คุสินธุ์ ผู้อำนวยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยี
สารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
|
| ได้รับฟังการดำเนินงาน และการพัฒนาห้องสมุดสีเขียว ของแต่่่่ละท่าน ในทุก ๆ หน่วยงาน โดยได้รับฟังแล้วนำมาเป็นแนวทางในการพัฒนางาน ของโครงการห้องสมุดสีเขียว (์NSRU Library) หมวดที่ 5 การบริหารจัดการและให้บริการห้องสมุดเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ในหมวดที่ได้รับผิดชอบได้มากขึ้น
| | 14/03/2565 |
การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การจัดทำผลงานเชิงวิเคราะห์หรือสังเคราะห์จากงานประจำ เพื่อประกอบการประเมินเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้นของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ สังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์” | | ได้รับฟังการบรรยายการเขียนผลงานการวิเคราะห์จากงานประจำ
- ความหมายของผลงานเชิงวิเคราะห์
- หลักเกณฑ์วิธีการวิเคราะห์
- ผลงานวิเคราะห์ต่างจากผลงานวิจัยอย่างไร
- สายสนับสนุนในมหาวิทยาลัยจะวิเคราะห์อะไรได้บ้าง
ได้รับฟังการบรรยาย
หลักเกณฑ์และวิธีการการเขียนแบบประเมินผลสัมฤทธิ์ตามตัวชี้วัด ความรู้ ความสามารถ ทักษะ และ สมรรถนะ
โดยวิทยากร คุณเรืองชัย จรุงศิรวัฒน์
|
| - ได้รับความรู้ ความหมายของผลงานเชิงวิเคราะห์
- ได้รับความรู้ หลักเกณฑ์วิธีการวิเคราะห์
- ได้รับความรู้ ผลงานวิเคราะห์ต่างจากผลงานวิจัยอย่างไร
- ได้รับความรู้ สายสนับสนุนในมหาวิทยาลัยจะวิเคราะห์อะไรได้บ้าง
- ได้รับความรู้ หลักเกณฑ์และวิธีการการเขียนแบบประเมินผลสัมฤทธิ์ตาม
ตัวชี้วัด ความรู้ ความสามารถ ทักษะ และ สมรรถนะ
- ได้รับความรู้ และเทคนิค ในการเขียนผลงานการวิเคราะห์จากงานประจำ
| | 13/09/2564 |
การฝึกอบรมการใช้ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เพื่อการสืบค้น โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุดในประเทศไทย (ThaiLIS) ประจำปี 2564 (ออนไลน์) | | ในปัจจุบันสารสนเทศเข้ามามีบทบาทต่อชีวิตประจำวันมากขึ้น โดยเฉพาะในด้านการเรียนการสอน การทำวิจัย ซึ่งทั้งหมดนี้เกี่ยวข้องกับอาจารย์ เจ้าหน้าที่ และนักศึกษา ระดับปริญญาตรี และระดับบัณฑิตศึกษา ฯลฯ โดยใช้แหล่งเรียนรู้สำหรับค้นคว้าหาความรู้จากห้องสมุดของมหาวิทยาลัย ที่มีทรัพยากรสารสนเทศให้บริการที่หลากหลาย
ซึ่งฐานข้อมูลออนไลน์ เป็นอีกทางเลือกหนึ่งของการเข้าถึงข้อมูลอย่างง่ายดาย และอย่างหลากหลาย เหมาะแก่การค้นคว้า ฐานข้อมูลออนไลน์เป็นทรัพยากรสารสนเทศที่มีความทันสมัย รวบรวมสารสนเทศไว้เป็นจำนวนมาก และหลากหลายสาขาวิชา ไม่ว่าจะเป็นสาขาทางวิทยาศาสตร์ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ การศึกษา ฯลฯ |
| - ได้รับความรู้ และเทคนิค ในการใช้งานฐานข้อมูล ProQuest
Dissertations & Theses Global
- ได้รับความรู้ และเทคนิค ในการใช้งานฐานข้อมูล IEL
- ได้รับความรู้ และเทคนิค ในการใช้งานฐานข้อมูล ACM Digital Library
- ได้รับความรู้ และเทคนิค ในการใช้งานฐานข้อมูล SpringerLink
- ได้รับความรู้ และเทคนิค ในการใช้งานฐานข้อมูล Web of Science
- ได้รับความรู้ และเทคนิค ในการใช้งานฐานข้อมูล ACS
- สามารถนำความรู้ที่ได้รับ นำไปแนะนำ และถ่ายทอดให้กับผู้สนใจ และผู้ใช้
บริการได้มากขึ้น | | 13/09/2564 |
โครงการ พัฒนาและเพิ่มศักยภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากร ประจำปีงบประมาณ 2564 | | 1. ได้ไปศึกษาดูงานที่ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมป์
2. การเขียนโครงร่างงานวิจัย
|
| 1. ได้ไปศึกษาดูงานที่ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมป์
1.1 ได้รับความรู้ และนำความรู้ที่ได้รับมาปรับปรุง และพัฒนางานของห้องสมุดได้มากขึ้น
1.2 นำความรู้ที่ได้รับมาปรับปรุง และพัฒนางานที่ปฏิบัติ ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
2. การเขียนโครงร่างงานวิจัย
ได้รับความรู้ในการเขียนโครงร่างงานวิจัยมากขึ้น | | 08/03/2564 |
โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง "การป้องกันและระงับอัคคีภัย การอพยพหนีไฟ" | | ได้รับฟังการบรรยาย สาธิต และตอบข้อซักถาม (โดย คณะวิทยากร จากงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เทศบาลนครนครสวรรค์) ในหัวข้อดังนี้
- ทฤษฎีการเกิดเพลิงไหม้ เรียนรู้เรื่องการแบ่งประเภทของเพลิงไหม้
- จิตวิทยาเมื่อเกิดเพลิงไหม้
- การป้องกันแหล่งกำเนิดการติดไฟ และแผนป้องกันและระงับอัคคี
ภัย
- วิธีใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ใช้ในการดับเพลิง
- การจัดระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย
- การประยุกต์ใช้ระบบและอุปกรณ์ที่มีอยู่ในหน่วยงาน
- สาธิตวิธีดับเพลิง การใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ในการดับเพลิง
- แผนการดับเพลิงและวิธีการดับเพลิงของหน่วยงาน
- การฝึกซ้อมดับเพลิง การใช้เครื่องมือดับเพลิงขั้นตอนประเภทแก๊ส
และน้ำมัน
- การอพยพหนีไฟ การค้นหา การช่วยเหลือ และเคลื่อนย้ายผู้ประสบ
ภัย |
| 1. ได้เรียนรู้วิธีป้องกันและปฎิบัติตัวเมื่อเกิดอัคคีภัย
2. ได้เรียนรู้วิธีช่วยเหลือผู้อื่นเมื่อเกิดอัคคีภัย
3. ได้เรียนรู้วิธีดับเพลิง การใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ในการดับเพลิง
4. ได้เรียนรู้ การใช้เครื่องมือดับเพลิงขั้นต้นประเภทแก๊สและน้ำมัน | | 11/09/2563 |
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง "การพัฒนาข้าราชการและสายสนับสนุนเพื่อเลื่อนตำแหน่งชำนาญการและระดับอื่น ๆ" | | ได้รับฟังการบรรยายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การตรวจประเมินผลงาน ในการจัดทำคู่มือปฏิบัติงาน เพื่อการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนสู่ตำแหน่งชำนาญการหรือสูงขึ้น โดยวิทยากร คุณปภาณภณ ปภังกรภูรินทร์ |
| 1. ได้เทคนิคแนวคิดในการปรับปรุงและพัฒนาการจัดทำคู่มือปฏิบัติงานของตนเองให้ดีขึ้น
2. ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในการจัดทำคู่มือปฏิบัติงานของบุคลากรในสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ | | 11/09/2563 |
โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการทบทวนผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 และจัดทำแผนการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 | | -ได้ร่วมกันทบทวนผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2562 และร่วมกันจัดทำแผนการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ 2563 ของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
- ได้ร่วมกันทบทวนปรัชญา วิสัยทัศน์ อัตลักษณ์ พันธกิจและประเด็นยุทธศาสตร์ ของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ |
| - ในการที่ร่วมกันทบทวนผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2562 และร่วมกันจัดทำแผนการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ 2563 โดยจะได้ทราบแนวคิด และข้อแสดงความคิดเห็นมาปรับปรุงแผนการดำเนินงานร่วมกัน และทำให้แผนการดำเนินงานขับเคลื่อนไปเป็นในแนวทางเดียวกัน
- ในการร่วมกันทบทวนปรัชญา วิสัยทัศน์ อัตลักษณ์ พันธกิจและประเด็นยุทธศาสตร์ โดยจะได้ทราบแนวคิด และข้อแสดงความคิดเห็นมาปรับปรุง การดำเนินงานร่วมกัน ทำให้เป็นในแนวทางเดียวกัน
- ได้รับความรู้ ในการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมมากขึ้น | | 10/09/2562 |
การอบรมเชิงปฏิบัติการ "การพัฒนาข้าราชการและบุคลากรสายสนับสนุนเพื่อเลื่อนตำแหน่งชำนาญการและระดับอื่น ๆ" | | เทคนิคการเขียนคู่มือปฏิบัติงาน วิทยากร โดย คุณปภาณภณ ปภังกรภูรินท์ (ต้น) ประเด็นนำเสนอและบรรยายโดยอย่างละเอียด ได้แก่
- ความรู้เบื้องต้นในการจัดทำคู่มือปฏิบัติงาน
- องค์ประกอบของคู่มือปฏิบัติงาน
- เทคนิคการจัดทำคู่มือปฏิบัติงาน
- เกณฑ์การประเมินคุณภาพคู่มือปฏิบัติงาน
- ข้อบกพร่องที่พบบ่อย
- การปรับปรุงากระบวนการ |
| 1. ได้รับความรู้เบื้องต้นในการจัดทำคู่มือปฏิบัติงาน
2. ได้รับความรู้องค์ประกอบของคู่มือปฏิบัติงาน
3. ได้รับความรู้ เทคนิคการเขียน และการจัดทำคู่มือปฏิบัติงาน
4. ได้รับทราบเกณฑ์การประเมินคุณภาพคู่มือปฏิบัติงาน
| | 21/07/2562 |
การฝึกอบรมปฏิบัติการ กิจกรรมกลุ่มโครงการพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรสายสนับสนุน | | เข้ารับการฝึกอบรม ได้เข้าเยี่ยมชมศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงตามรอยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตรรัชกาลที่ 9 ซึ่งเดิมทีเป็นพื้นที่ทำเกษตร ทำนา เลี้ยงสัตว์ ของกำลังพลทหารช่างและคิดต่อยอดพัฒนาสถานที่เพื่อเป็นแหล่งท่องเที่ยวบนพื้นที่กว่า 30 ไร่
การฝึกอบรมปฏิบัติการกิจกรรมกลุ่ม เรื่อง ความสามัคคีและละลายพฤติกรรมบุคลากรสายสนับสนุน |
| 1. ได้รับความรู้และเรียนรู้เศรษฐกิจกิจพอเพียง
2. ได้รับความรู้ ในการฝึกปฏิบัติ ความมีระเบียบวินัย และความสามัคคี | | 05/03/2562 |
โครงการอบรมภาษาอังกฤษสำหรับบุคลากรทางวิชาชีพบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์เพื่อรองรับประชาคมอาเซียน | | ภาษาอังกฤษมีประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานของบุคลากร บุคลากรควรมีทักษะการใช้ภาษาอังกฤษได้ในระดับดี สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนสามารถนำทักษะภาษาอังกฤษไปใช้กับการปฏิบัติงานของตนเองได้ |
| 1. ได้รับความรู้ เรื่องการพูดทั่วไป (การกล่าวทักทาย ขอบคุณ ขอโทษ และการอำลา)
2. ได้รับความรู้ เรื่องการพูดเพื่อการปฏิบัติงาน (การกล่าวต้อนรับ ผู้ใช้บริการในสถานการณ์ต่าง ๆ)
3. ได้รับความรู้ ในการแต่งประโยคในการถาม และการตอบ
| | 05/03/2562 |
การประชุมวิชาการประจำปี 2561 เรื่อง เปลี่ยนมุมคิด พลิกโฉมใหม่ - บริบทจากผู้ใช้ห้องสมุด | | ห้องสมุดเป็นองค์กรที่จำเป็นต้องมีการพัฒนา ปรับปรุง ปรับเปลี่ยน และเปลี่ยนแปลงรูปแบบการบริการให้สอดคล้องกับวัวิวัฒนาการของสังคมและเทคโนโลยีที่ก้าวหน้า เพื่อมิให้เกิดการถดถอยหรือตามหลัง ความเปลี่ยนแปลงที่สำคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าความเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีหรือสังคม ก็คือบริบทของผู้ใช้อันได้แก่ ความต้องการ พฤติกรรม และแนวการใช้ชีวิตที่ส่งผลกระทบต่อห้องสมุดหลายแห่งให้ปรับเปลี่ยน วิถีการบริการ เช่นมีการพัฒนา Application เพื่อเข้าถึงบริการของห้องสมุดได้อย่างรวดเร็ว
ผู้ให้บริการต้องหาความต้องการของผู้ใช้บริการ ถามผู้ใช้บริการว่าต้องการอะไร นำข้อมูลนั้นนำไปวิเคราะห์
กำหนดนโยบายปรับนโยบายให้เข้าถึงผู้ใช้บริการมากขึ้น ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการ กำหนดกลุ่มผู้ใช้บริการ และผู้ใช้บริการต้องการอะไร
ยุคการเปลี่ยนแปลง เราจะต้องมองรอบ ๆ ตัว มองไปข้างหน้า ต้องคุยกับผู้ใช้บริการว่าเรามีบริการอะไรบ้าง และมีความคิดสร้างสรรค์ |
| 1. ได้รับความรู้ ความเข้าใจ และการพัฒนาตน ให้เท่าทันบริบทของผู้ใช้บริการ
2. ได้รับความรู้ และได้แนวปฏิบัติที่ดี เพื่อนำไปพัฒนาและนำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนางานที่ได้ปฏิบัติ
3. ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์การทำงานในห้องสมุดจากต่างหน่วยงานและต่างสถาบัน | | 05/03/2562 |
อบรมบรรณารักษ์เชิงปฏิบัติการ ในหัวข้อ "Creative Space การออกแบบห้องสมุดให้มีชีวิต" | | เสวนา ในหัวข้อ "การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ในห้องสมุด"
โดย คุณบุญเลิศ ค่อนสอาด, คุณธานินทร์ ตุ่มไทยสาค และคุณครูณฐาพัทธ์ เพียรบุญวัฒน์
นวัตกรรมเทคโนโลยีมีผลทำให้เด็ก และผู้เข้ามาใช้ มีผลต่อการเรียนรู้หรือไม่ ให้เรียนรู้จากหนังสือแนะนำการใช้หนังสือว่ามีความผิดน้อยที่สุด กว่าการใช้อินเทอร์เน็ต
1. จุดประกาย ให้ห้องสมุดต้องเป็นที่สิ่งใหม่ ๆ
2. จัดกิจกรรมต่าง ๆ
3. จัดภาพการอ่านหนังสือตามอารมณ์บนชั้น
อบรมเชิงปฏิบัติการ ในหัวข้อ "Creative Space การออกแบบห้องสมุดให้มีชีวิต" และกลยุทธ์การเลือกหนังสือให้ถูกใจเด็ก ๆ โดย คุณธานินทร์ ตุ่มไทยสาคร
สร้างนวัตกรรมการอ่าน
1. หนังสือ-นักเขียนที่ชอบ
2. การได้มาห้องสมุดบ่อย ๆ
3. กิจกรรมแข่งขันการอ่าน
4. ให้ (แนะนำ) หนังสือแก่ผู้ใช้บริการ
5. หนัง (ละคร) ที่ทำจากหนังสือ
จัดมุมส่งเสริมการอ่านตามวันต่าง ๆ หนังสือประเภทเนื้อหาเกี่ยวข้องกับเรื่องที่จัดทั้งหมด การสร้างบรรยากาศในการเรียนรู้ห้องสมุด, วางแผนการเรียนแล้วบรรณารักษ์เป็นผู้สร้างบรรยากาศมุมหนังสือให้สอดคล้องกับการเรียนการสอน |
| 1. ได้เห็นความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในการสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ในห้องสมุด
2. ได้รับความรู้และแนวคิดในการจัดกิจกรรมห้องสมุดให้เป็นแหล่งเรียนรู้ เพื่อดึงดูดให้ผู้ใช้บริการเข้ามาใช้ห้องสมุดเพิ่มมากขึ้น
3. ได้รับความรู้ในการออกแบบมุมหนังสือให้มีชีวิต และกลยุทธ์การเลือกหนังสือให้ถูกใจผู้ใช้บริการ
4. ได้รับความรู้ และมีแนวคิดในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านมากขึ้น | | 05/03/2562 |
อบรมเชิงปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ หลักสูตร "Transform the way of teaching - Educator" | | 1. เรียนรู้และศึกษาวิธีการนำ Microsoft Office 365 ซึ่งเป็น Platform ในการทำงานและการเรียนการสอนชั้นนำไปใช้ในการพัฒนาศักยภาพการทำงานและทำความรู้จักเบื้องต้นกับระบบ
2. เรียนรู้เครื่องมือบน Microsoft Office 365 ได้แก่ Outlook, Yammer, Office Online and OneDrive for Businss ในการใช้งานร่วมกันเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน
3. เรียนรู้การใช้เครื่องมือ PowerPoint Recording & Microsoft Stream ในการสร้างบทเรียนออนไลน์ได้ตนเอง
4. เรียนรู้การใช้เครื่องมือ Microsoft Sway ในการสร้างบทนำเสนอแบบเล่าเรื่องหรือ Story-Telling Presentation
5. เรียนรู้การสร้างแบบฟอร์มออนไลน์เพื่อใช้เป็นแบบสอบถาม แบบสำรวจ แบบลงทะเบียนและแบบทดสอบผ่านเครื่องมือ Microsoft Forms
6. ทำความรู้จัก Microsoft Teams เครื่องมือในการสื่อสารภายในหน่วยงาน องค์กรและมหาวิทยาลัยที่ทันสมัยทำให้การทำงานร่วมกันและการประชุมเข้าสู่โลกดิจิทัลสมบูรณ์แบบ
|
| 1. ได้รับความรู้เครื่องมือบน Microsoft Office 365 ได้แก่ Outlook, Yammer, Office Online and OneDrive for Business
2. ได้รับความรู้ ในการใช้เครื่องมือ Microsoft Sway ในการสร้างบทนำเสนอแบบเล่าเรื่อง
3. ได้รับความรู้ ในการสร้างแบบฟอร์มออนไลน์เพื่อใช้เป็นแบบสอบถาม แบบสำรวจ แบบลงทะเบียนและแบบทดสอบผ่านเครื่องมือ Microsoft Forms
4. ได้รับความรู้เกี่ยวกับ Microsoft Office 365 เพิ่มมากขึ้น และนำความรู้ที่ได้รับมาใช้งานได้มากขึ้น | | 01/09/2561 |
เข้าร่วมฟังการบรรยายและเสวนาเรื่อง "Smart Library : การบริการของห้องสมุดยุคใหม่เพื่อรองรับประเทศไทย 4.0" | | 1. เรื่อง "Smart Library : การบริการของห้องสมุดยุคใหม่เพื่อรองรับประเทศไทย 4.0" บรรยาย โดย รองศาสตราจารย์ ดร.วนิดา แก่นอากาศ
หลักการสำคัญของการบริการของห้องสมุดยุคใหม่ คือ จัดให้บริการที่เข้าถึงลูกค้าเป็นสำคัญ ทำอะไรต้องฟังเสียงลูกค้า และตอบโจทย์ลูกค้า โดยใช้แนวคิดการบริการของห้องสมุดยุคใหม่ที่สอดรับการเทคโนโลยีดิจิทัลที่เปลี่ยนแปลงไป โดยการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลให้เกิดประโยชน์สูงสุด
2. เรื่อง "นวัตกรรมและแนวโน้มของเทคโนโลยีดิจิทัล" บรรยาย โดย อาจารย์ไกรวิน วัฒนะรัตน์
ด้วยเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป และเกิดการพัฒนามาตลอดตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันจนเกิดนวัตกรรมใหม่ๆ ซึ่่งนวัตกรรม หมายถึง การทำสิ่งต่างๆด้วยวิธีใหม่ๆ และสามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างสัมฤทธิ์ผลและหลักสำคัญในการสร้างนวัตกรรมง่ายๆ คือ
- เลียนแบบ
- สอบถาม
- สังเกต
- การฟังบ่น
- เพิ่มเติม
- ลดออก
- ร่วมมือกันทำ
- ซื้อ เพราะของมันต้องมี
- การประกวด แข่งขัน การจัดการแข่งขันเพื่อหานวัตกรรมใหม่ๆ
- เปิดเสรี สร้างพื้นที่ (Open Source)
3. เสาวนาเรื่อง "Smart Library : แนวคิดและการออกแบบบริการ (Service Design)"
ด้านกายภาพ
- การออกแบบภูมิทัศน์ และอาคารสถานที่ห้องสมุด
ด้านทรัพยากร
- การจัดระบบ การเข้าถึง การค้นคืน
- การอนุรักษ์และการสงวนรักษา
ด้านการบริการ
- การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
- การสื่อสาร การประชาสัมพันธ์
- การตลาดเชิงรุก
|
| 1. ได้รับความรู้ แนวคิดการบริการของห้องสมุดยุคใหม่ที่สอดรับเทคโนโลยีดิจิทัลที่เปลี่ยนแปลงไป โดยการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลให้เกิดประโยชน์สูงสุด
2. ได้รับความรู้ ด้านเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป และเกิดการพัฒนามาตลอดตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน จนเกิดนวัตกรรมใหม่ ๆ ซึ่่งนวัตกรรมใหม่ ๆ สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างมาก และได้มีการสร้างนวัตกรรมง่าย ๆ
3. ได้เห็นการพัฒนานำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในงานห้องสมุด เพื่อจะเอื้อให้ผู้ใช้บริการสามารถเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว
4. นำความรู้ที่ได้รับมาพัฒนา และปรับปรุงงานบริการของห้องสมุดได้มากขึ้น
| 1. ควรส่งเสริมจัดกิจกรรมต่างๆ ที่น่าสนใจในห้องสมุดเพื่อให้ผู้ใช้บริการได้มีส่วนร่วมในกิจกรรม และสนใจที่จะเข้ามาหาความรู้ในห้องสมุดมากยิ่งขึ้น
2. ควรส่งเสริมและพัฒนาบุคลากร ให้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ที่จะพัฒนางานบริการให้แก่ผู้ใช้บริการ และควรนำเทคโนโลยี ไปปรับประยุกต์ใช้ในการพัฒนางานสารสนเทศ
3. ควรส่งเสริมให้บุคลากร ได้มีการแลกเปลี่ยน การเรียนรู้ซึ่งกันและกัน เพื่อที่จะทำให้งานของห้องสมุดพัฒนาไปอย่างต่อเนื่องและไม่หยุดนิ่ง
| 01/09/2561 |
การอบรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ โครงการพัฒนาศักยภาพพนักงานสายสนับสนุน คณะวิทยาการจัดการ ภาคเหนือ "เทคนิคการเขียนหนังสือราชการ และการเขียนแบบประเมินค่างานอย่างมีประสิทธิภาพ" | | หนังสือราชการ หมายถึง เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการ โดยใช้สื่อสารระหว่างราชการ ส่วนราชการไปหน่วยงานอื่น ซึ่งมิใช่ส่วนราชการ หรือบุคคลภายนอก หรือบุคคลภายนอกมายังส่วนราชการ รวมทั้งเอกสารที่ทางราชการจัดทำขึ้นเพื่อเป็นหลักฐานในราชการ ตลอดถึงเอกสารที่ทางราชการจัดทำขึ้น
ตามกฎหมาย ระเบียบหรือข้อบังคับ
เทคนิคการเขียนผลงาน
1. ชื่อเรื่องและผลงาน ตรงหรือสอดคล้อง กับ Job Description ของตำแหน่งที่จะแต่งตั้งเป็นระดับที่สูงขึ้น
2. ระยะเวลาตั้งแต่วันที่เริ่มดำเนินการจนถึงวันที่สิ้นสุดโครงการ ทั้งนี้ ผลงานดังกล่าวจะต้องเป้นการดำเนินการที่เ้สร็จสิ้นก่อนวันส่งเอกสารประกอบการคัดเลือกบุคคล
3. ใช้กฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบหรือแนวคิดทางวิชาการที่นำมาใช้ในการดำเนินงานโดยสรุป ให้มีความเกี่ยวข้อง สอดคล้องและเชื่อมโยงกับผลงาน
4. ผลงานต้องมีการวิเคราะห์ สังเคราะห์ที่แสดงให้เห็นถึงการใช้ความรู้ความสามารถ และประสบการณ์ ความชำนาญ หรือความเชี่ยวชาญในงานที่ปฏิบัติเพื่อพัฒนาหรือปรับปรุงงาน
5. เขียนผลงานโดยระบุแนวคิดการนำเสนอที่ชัดเจน เรียบเรียงเนื้อหาอย่างเป็นระบบ เนื้อหาแต่ละหัวข้อมีความเชื้่อมโยง สอดคล้องกัน ใช้ภาษาเขียน อ่านเข้าใจง่าย
6.ระบุประโยชน์ของผลงานได้ชัดเจนทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพสอดคล้องกับวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของผลงาน แสดงให้เห็นถึงประโยชน์หรือคุณค่าของผลงาน
7. ลักษณะของผลงานมีคุณภาพเหมาะสมกับแต่ละระดับตำแหน่งที่จะประเมินตามเกณฑ์การพิจารณาตามกำหนด
|
| 1. ได้รับความรู้ และขั้นตอนในการเขียน เอกสารราชการ "หนังสือภายนอก" ได้อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพมากขึ้น
2. ได้รับความรู้ และขั้นตอนในการเขียน เอกสารราชการ "หนังสือภายใน" ได้อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพะมากขึ้น
3. ได้รับความรู้ ขั้นตอน และรูปแบบ "การเขียนแบบประเมินค่างาน" ได้อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพมากขึ้น
4. ได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซึ่งกันและกัน ทั้งในสถาบัน และระหว่างสถาบันมากขึ้น
| | 01/09/2561 |
การอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร "การพัฒนาบุคลากรสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการใช้งานซอฟท์แวร์สำหรับการปฏิบัติงาน" | | G Suite หรือชื่อเดิมว่า Google for Education (Google App for Education) เป็นบริการจาก Google ที่ให้สถาบันการศึกษาและสถาบันหรือองค์กรที่ไม่แสวงหาผลกำไรได้ใช้งานบริการต่าง ๆ จาก Google ได้ฟรี โดยใช้บัญชี GMail ที่เป็น domain ขององค์กรเอง
1. แนะนำการใช้งาน G Suite เเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้แก่องค์กร
1.1 แนะนำ G Suite เบื้องต้น
1.2 การล็อกอินเข้าใช้งาน G Suite
1.3 การใช้งานหลายผู้ใช้บนเบราเซอร์ Google Chrome
1.4 การใช้งาน Gmail
1.5 Google Calendar
2. การใช้งาน Google Form เป็นบริการของ google ที่สร้างแบบสอบถามหรือ รวบรวมข้อมูลอื่น ๆ ออนไลน์ ได้อย่างรวดเร็ว สามารถนำมาประยุกต์ใช้ หลายกรณี ทุกอย่างฟรี โดยไม่ต้องเขียนโปรแกรมเอง
3. พื้นฐานการใช้งานโปรแกรม Microsoft word 2016 และ โปรแกรม Microsoft Excel 2016 |
| การใช้งาน Gmail
1. ได้เรียนรู้การสร้างและส่งอีเมล์
2. ได้เรียนรู้การจัดการอีเมล์
3. ได้เรียนรู้การค้นหาอีเมล์
4. ได้เรียนรู้สร้างคำลงท้ายในอีเมล์
การใช้งาน Google Form เป็นบริการของ google ที่สร้างแบบสอบถาม
1. ได้เรียนรู้ ขั้นตอนในการสร้างแบบสอบถาม
2. ได้เรียนรู้การออกแบบ แบบสอบถาม/ แบบสำรวจ
3. ได้เรียนรู้รูปแบบใหม่สำหรับการสร้าง Google Form
4. ได้เรียนรู้เครื่องมือการใช้งานในการทำแบบสอบถาม
พื้นฐานการใช้งานโปรแกรม Microsoft word 2016 และ โปรแกรม Microsoft Excel 2016
การใช้งานโปรแกรม Microsoft word 2016
1. ได้เรียนรู้ในการพิมพ์บันทึกข้อความ และการพิมพ์หนังสือ
ราชการ
2. ได้เรียนรู้ เครื่องมือในการใช้งาน Microsoft word 2016
การใช้งานโปรแกรม Microsoft Excel 2016
1. ได้เรียนรู้ เครื่องมือ และเทคนิคในการใช้งาน Microsoft Excel
2016 | | 03/09/2561 |
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพบริการอินเตอร์เน็ตไร้สายเพื่อประโยชน์สาธารณะ (Free Wi-Fi) | | สำนักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สตช.) กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ในฐานะหน่วยงานหลักในการทำหน้าที่กำหนดนโยบายเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล ได้ดำเนินโครงการเพิ่มประสิทธิภาพบริการอินเตอร์เน็ตไร้สายเพื่อประโยชน์สาธารณะ (Free Wi-Fi) โดยพัฒนาระบบตรวจสอบสิทธิการใช้งาน Smart Sign On) เพื่อเข้าใช้บริการอินเตอร์เน็ตไร้สายเพื่อประโยชน์สาธารณะ (Free Wi-Fi) ผ่านอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต และโทรศัพท์มือถือ ซึ่งผู้ให้บริการลงทะเบียนเพียงครั้งเดียวสามารถใช้บริการอินเตอร์เน็ตไร้สาย ได้ทั้งโครงการภายใต้นโยบายของรัฐบาล และกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม |
| 1. เพิ่มความสะดวกในการเข้าใช้บริการอินเตอร์เน็ตไร้สายเพื่อปะโยชน์สาธารณะ ผ่านอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต และโทรศัพท์มือถือ โดยลงทะเบียนเพียงครั้งเดียว สามารถใช้บริการอินเตอร์เน็ตไร้สายได้ทั้งผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต (ISP) ทั้งภาครัฐและเอกชนที่เข้าร่วมโครงการ
2. ได้รับความรู้ วิธีการเข้าใช้งานและวิธีการเข้าระบบอินเตอร์เน็ตไร้สายสาธารณะ (Free Wi-Fi) และการใช้อินเตอร์ให้ปลอดภัย
3. ได้รับความรู้เรื่อง "Thailand 4.0"
4. ได้รับความรู้เรื่อง "Internet of Things" รู้ทันอินเทอร์เน็ตอินเทรนกับชีวิตดิจิทัล | อยากให้มีการจัดอบรมอย่างต่อเนื่อง เพื่อผู้ใช้งานจะได้มีความรู้ ในการเข้าใช้งานอย่างถูกต้อง และอย่างต่อเนื่อง | 01/09/2561 |
โครงการส่งเสริมพัฒนาจรรยาบรรณอาจารย์และบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ "ซื่อสัตย์ โปร่งใส ห่างไกลคอรัปชั่น" | | สภาพปัญหาที่นำไปสู่การทุจริตคอรัปชั่น ในสังคมปัจจุบัน
- โครงสร้างสังคมไทยระบบอุปภัมภ์
- กระแสบริโภคนิยม วัตถุนิยม
- กระบวนการยุติธรรมไม่เข้มแข็ง
- การบริหารของรัฐขาดประสิทธิภาพ
- ความเบื่อหน่ายและเพิกเฉยของประชาชนต่อการทุจริต |
| ได้รับการส่งเสริมพัฒนาจรรยาบรรณอาจารย์และบุคลากร ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ มีความ "ซื่อสัตย์ โปร่งใส ห่างไกลคอรัปชั่น" มากยิ่งขึ้น | | 06/03/2561 |
งานประชุมวิชาการประจำปี 2561 (TK Forum 2018) หัวข้อ "Creating Better Library : The Unfinished Knowledge" | | การประชุมในครั้งนี้ มุ่งนำเสนองค์ความรู้ในการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องสมุดยุคใหม่ ตลอดจนการใช้พื้นที่การเรียนรู้เพื่อการพัฒนาทักษะที่จำเป็นของศตวรรษที่ 21 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมงานได้เข้าใจแนวคิดหรือวิธีการปรับปรุงสร้างสรรค์ห้องสมุดและการพัฒนาพื้นที่การเรียนรู้
ความก้่าวหน้าทางเทคโนโลยีและอินเตอร์เน็ตทำให้พฤติกรรมการแสวงหาข้อมูลความรู้และการเข้าถึงสารสนเทศเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ส่งผลโดยตรงต่อบทบาทของห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้ทั่วโลก ผลกระทบที่เกิดขึ้นนั้นรุนแรงมากน้อยแตกต่างกันไป ห้องสมุดบางแห่งอาจถึงกับต้องปิดตัวยุติการให้บริการ บ้างยังคงยืนหยัดอยู่ได้ท่ามกลางผู้ใช้อันเบาบาง คงมีเพียงจำนวนไม่มากนักที่เกิดการปรับตัวจนสามารถตอบสนองต่อความต้องการที่เปลี่ยนแปลงและหลากหลายยิ่งขึ้นได้
ห้องสมุดที่ปรับตัวและแมีแนวโน้มจะดำรงบทบาทสำคัญทางสังคมอยู่ได้นั้น
ส่วนใหญ่แล้วเป็นห้องสมุดซึ่งมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการใช้พื้นที่ (space utilization) อันมาจากการวิเคราะห์ข้อมูลพฤติกรรมความต้องการของผู้ใช้บริการและสอคล้องกับบริบทชุมชนได้อย่างถูกต้อง
ห้องสมุดในอนาคต นอกจากจะอำนวยความสะดวกในด้านการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศและให้บริการทรัพยากร ความรู้อันเป็นภารกิจตามปกติแล้ว จึงมีแนวโน้มที่จะให้ความสำคัญกับรูปแบบหรือวิธีการเรียนรู้ของผู้ใช้งานในโลกยุคดิจิทัล โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มเป้าหมายคนรุ่นใหม่ โดยส่งเสริมการรู้ดิจิทัล และความคล่องแคล่วทางดิจิทัล
|
| - นำความรู้ที่ได้รับไปพัฒนางานของห้องสมุดได้มากขึ้น
- ทำให้มีแนวคิดในการพัฒนาพื้นที่ให้บริการของห้องสมุดมากยิ่งขึ้น
- ทำให้มีแนวคิดในการพัฒนางานที่ตนเองปฏิบัติมากขึ้น
- ได้รับความรู้ในการพัฒนาพื้นที่ให้บริการของห้องสมุดในต่างประเทศ
- ได้รับความรู้จากต่างประเทศ ที่ให้ความสำคัญกับการพัฒนาห้องสมุดและงานบริการต่างๆ ของห้องสมุด อย่างต่อนื่อง
- ได้รับความรู้จากการนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนางานของห้องสมุดในปัจจุบันมีมากขึ้นและตลอดเวลา | | 06/03/2561 |
โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ "รับการตรวจประเมินและการจัดการความรู้ในองค์กร" | | - ได้รับฟังขั้นตอนในการเขียนเอกสารราชการ "หนังสือภายนอก" อย่างละเอียด
- ได้รับฟังขั้นตอนในการเขียนเอกสารราชการ "หนังสือภายใน" อย่างละเอียด
- ได้รับฟังขั้นตอน เรื่อง "การเขียนบันทึกต่อเนื่องและการเกษียนหนังสือ" อย่างละเอียด
- ได้รับฟังขั้นตอน เรื่อง "การเขียนรายงานการประชุม" อย่างละเอียด
- ได้รับฟัง เรื่องการเขียนภาระงาน (๋Job Description)" อย่างละเอียด
- ได้รับฟัง เรื่อง "การเขียนการเบิกจ่ายไปราชการ" อย่างละเอียด
- ได้รับฟัง เรื่อง "การเขียนเสนออนุมัติโครงการกิจกรรม และการเขียนรายงาน สรุปโครงการกิจกรรมภายในหน่วยงาน" อย่างละเอียด
|
| - ได้รับความรู้ และขั้นตอนในการเขียน เอกสารราชการ "หนังสือภายนอก" ได้อย่างถูกต้องมากยิ่งขึ้น
- ได้รับความรู้ และขั้นตอนในการเขียน เอกสารราชการ "หนังสือภายใน" ได้อย่างถูกต้องมากยิ่งขึ้น
- ได้รับความรู้ และขั้นตอน ในเรื่อง "การเขียนบันทึกต่อเนื่องและการเกษียนหนังสือ" ได้อย่างถูกต้องมากยิ่งขึ้น
- ได้รับความรู้ และขั้นตอน ในเรื่อง "การเขียนรายงานการประชุม" ได้อย่างถูกต้องมากยิ่งขึ้น
- ได้รับความรู้ และขั้นตอน ในเรื่อง "การเขียนภาระงาน (๋Job Description)" ได้อย่างถูกต้องมากยิ่งขึ้น
- ได้รับความรู้ และขั้นตอน ในเรื่อง "การเขียนเบิกจ่ายไปราชการ" ได้อย่างถูกต้องมากยิ่งขึ้น
- ได้รับความรู้ และขั้นตอน ในเรื่อง "การเขียนเสนออนุมัติโครงการกิจกรรม และการเขียนรายงาน สรุปโครงการกิจกรรมภายในหน่วยงาน" ได้อย่างถูกต้องและเหมาสมมากขึ้น
- ทำให้ผู้บริหาร และบุคลากรในหน่วยงาน มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซึ่งกันและกันมากขึ้น
| | 06/03/2561 |
การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง "การทบทวนผลการดำเินงานประจำปีงบประมาณ 2560 และจัดทำแผนการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ 2561" ของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ | | -ได้ร่วมกันทบทวนผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2560 และร่วมกันจัดทำแผนการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ 2561 ของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
- ทบทวนรูปแบบการเขียนโครงการภายในหน่วยงาน และจัดทำรายงานสรุปโครงการกิจกรรมของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ |
| - ในการที่ร่วมกันทบทวนผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2560 และร่วมกันจัดทำแผนการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ 2561 โดยจะได้ทราบแนวคิด และข้อแสดงความคิดเห็นมาปรับปรุงแผนการดำเนินงานร่วมกัน และทำให้แผนการดำเนินงานขับเคลื่อนไปเป็นในแนวทางเดียวกัน
- ได้รับความรู้ ในการเขียนโครงการ และจัดทำรายงานสรุปโครงการของ
สำนักวิทยบริการฯ ได้ถูกต้องและเหมาะสมมากยิ่งขึ้น | | 27/09/2560 |
โครงการส่งเสริมพัฒนาจรรยาบรรณของคณาจารย์และบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ | | จรรยาบรรณอาจารย์และบุคลากรหมายถึงประมวลความประพฤติที่อาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนพึงปฏิบัติเพื่อรักษา ส่งเสริมเกียรติคุณ ชื่อเสียง และฐานะของอาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนตามที่ีสภามหาวิทยาลัยกำหนด
แนวทางปฏิบัติการส่งเสริมจรรยาบรรณ การส่งเสริมมี 2 แนวทางคือ
1. ส่งเสริมให้รางวัล
2. ใช้มาตรการควบคุม |
| 1. ได้รับความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการปฏิบัติตามจรรยาบรรณของบุคลากร
2. ช่วยให้เสริมสร้างจิตสำนึก และความตระหนักถึงความสำคัญในความประพฤติตามจรรยาบรรณในวิชาชีพ
3. ให้แนวทางประพฤติปฏิบัติที่ดีต่อวิชาชีพ ต่อตนเอง ต่อผู้ใช้บริการ
4. ได้รับความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ | | 18/09/2560 |
โครงการจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ การจัดการทรัพยากรห้องสมุดในศตวรรษที่21 (Library Management in 21st Century Skill) "หลักสูตร การใช้งานระบบโปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio" | | OpenBiblio เป็น Open Source Software ในการจัดบริหารจัดการห้องสมุดอัตโนมัติแบบบูรณาการ (Integrated Library System : ILS) ซึ่งได้รับการพัฒนาตามมาตรฐานสากล สามารถรองรับการทำงานในโมดูลต่างๆ การลงรายการทรัพยากรสารสนเทศ (Cataloging) การสืบค้นรายการทรัพยากรสารสนเทศ (Online Public Access Cataloging : OPAC) การยืม-คืน (Circulation) และการจัดทำ Label รวมถึงรายงาน (Reports) ติดตั้งและใช้ง่ายไม่ซับซ้อน ประหยัดงบประมาณและค่าใช้จ่าย เป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่น่าสนใจโดยเฉพาะสำหรับห้องสมุดขนาดกลางและขนาดเล็ก |
| 1. ได้รับความรู้ เรื่อง Software ทางเลือกกับการบริหารจัดการห้องสมุด
2. ได้รับความรู้ในเรื่องของโปรแกรม OpenBiblio มากขึ้น
3. ได้รับความรู้ในการลงโปรแกรม OpenBiblio
4. ได้รับความรู้ โมดูลต่างๆ ใน OpenBiblio
5. ได้รับความรู้ในการลงรายการทรัพยากรสารสนเทศ ใน OpenBiblio มากขึ้น | | 16/09/2560 |
โครงการถวายบังคมพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช, ศึกษาดูงานและประชุม เชิงปฏิบัติการทบทวนผลการจัดการความรู้ (KM) และความเสี่ยง ของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ | | - ได้รับฟังขั้นตอนในการเขียนโครงการ การนำเสนอโครงการ และการขออนุมัติโครงการตามแบบฟอร์มของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
- ได้รับฟังจากการนำเสนอผลการดำเนินการ ปัญหา และอุปสรรค ตามแผนการจัดการความเสี่ยงของแต่ละศูนย์ ในสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
|
| - ได้รับความรู้ และขั้นตอนในการเขียนโครงการตามแบบฟอร์มของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้ถูกต้องและเหมาะสมเพิ่มมากขึ้น
- ทำให้บุคลากรในหน่วยงาน มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในหัวข้อเรื่อง การเขียนโครงการ ของแต่ละกลุ่มงาน และของแต่ละบุคคลที่รับผิดชอบโครงการ
- ได้รับความรู้จากการนำเสนอผลการดำเนินการ ปัญหา และอุปสรรค ตามแผนการจัดการความเสี่ยงของแต่ละศูนย์ ในสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
- นำความรู้ที่ได้รับมาปรับปรุงและแก้ไขในการเขียนโครงการให้ถูกต้องและเหมาะสมมากยิ่งขึ้น | | 14/09/2560 |
โครงการการประชุมเชิงปฏิบัติการ “การจัดการความรู้ และติดตามผลการดำเนินการตามแผนการจัดการความเสี่ยงประจำปีงบประมาณ 2560” | | - ได้รับฟังขั้นตอนในการเขียนโครงการ การนำเสนอโครงการ และการขออนุมัติโครงการตามแบบฟอร์มของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
- ได้รับฟังจากการนำเสนอผลการดำเนินการ ปัญหา และอุปสรรค ตามแผนการจัดการความเสี่ยงของแต่ละศูนย์ ในสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
|
| - ได้รับความรู้ และขั้นตอนในการเขียนโครงการตามแบบฟอร์มของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้ถูกต้องและเหมาะสมเพิ่มมากขึ้น
- ทำให้บุคลากรในหน่วยงาน มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในหัวข้อเรื่อง การเขียนโครงการ ของแต่ละกลุ่มงาน และของแต่ละบุคคลที่รับผิดชอบโครงการ
- ได้รับความรู้จากการนำเสนอผลการดำเนินการ ปัญหา และอุปสรรค ตามแผนการจัดการความเสี่ยงของแต่ละศูนย์ ในสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
| | 06/03/2560 |
การอบรม “การปรับเปลี่ยนระบบจาก ISO 9001:2008 เป็น ISO 9001:2015” | | การเปลี่ยนแปลงหลัก จาก ISO 9001:2008 เป็น ISO 9001:2015
- มีการใช้คำว่า "goods and services" แทนคำว่า Product เพื่อให้มีการตีความข้อกำหนดได้ครอบคลุมและสามารถเข้าใจได้ง่ายมากกว่าเดิม
- มีสองข้อกำหนดหลักๆที่เพิ่มมาคือ "4.1 Understanding the organization and its context" และ "4.2 Understanding the needs and expectations of interested parties." การเพิ่มข้อกำหนดนี้ทำให้ข้อกำหนดในเรื่องการวางแผนระบบ QMS มีความชัดเจนมากขึ้นกว่าเดิมถึงสิ่งที่ต้องพิจารณาในการจัดทำระบบการบริหารคุณภาพ
- มีข้อกำหนด 4.4.2 Process Approach เพิ่มขึ้นมาเพื่อทำให้กรอบเรื่องการจัดการเชิงระบบเป็นไปอย่างชัดเจน
- ข้อกำหนดเรื่องกิจกรรมการป้องกันได้มีการระบุควบรวมในเรื่อง ความเสี่ยงตามข้อ 6.1. ทั้งนี้เนื่องจากระบบบริหารคุณภาพเป็นระบบที่เป็นการป้องกัน ตามกรอบของ Annex SL Core Text ที่ให้มีการคิดเรื่องความเสี่ยงและมาตรการควบคุมหรือลดผ่านระบบการบริหารคุณภาพ ณ ปัจจุบัน การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญที่สุดคือ การแนะนำแนวความคิดเรื่อง “ความเสี่ยง” (risk) ในข้อ 6 เรื่องการวางแผน ( Clause 6 : Planning)
- คำว่า "document" and "records" ได้ถูกแทนด้วยคำว่า"documented information". โดยการคัดลอกมาจาก Annex SL Appendix 2 โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงสาระ
- ข้อกำหนดในเรื่อง "Control of external provision of goods and services" ได้จัดกลุ่มข้อกำหนดควบรวมงานจากภายนอกทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นการจัดซื้อ จัดจ้าง ผ่านบริษัทในเครือ หรือวิธีการอื่นใดก็ตาม ข้อกำหนดได้ให้องค์กรทำการระบุความเสี่ยงเพื่อพิจารณามาตรการควบคุมทุกกรณี
|
| - ได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องการจัดทำระบบบริหารคุณภาพ ตามมาตรฐานสากล ISO 9001 : 2008 เป็น 9001 : 2015 เพิ่มมากขึ้น
- มีแนวคิดในการพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการทำงานให้เป็นระบบมากขึ้น
- ทำให้บุคลากรมีการทำงานเป็นทีม และมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันมากขึ้น
| | 05/03/2560 |
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและการศึกษาดูงานของศูนย์วิทยบริการ | | - ได้เห็นการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบของห้องสมุด สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
- ได้เห็นการให้บริการต่างๆ ของห้องสมุด สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
- ได้เห็นพื้นที่การให้บริการ การจัดภูมิทัศน์ การจัดนิทรรศการต่างๆ และหอจดหมายเหตุ ของห้องสมุด สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
|
| - นำความรู้ที่ได้รับจากการศึกษาดูงาน นำมาพัฒนางาน และปรับปรุงงานที่ปฏิบัติได้เพิ่มมากขึ้น
- ได้รับความรู้ และมีแนวคิดในการจัดนิทรรศการต่างๆ
- ได้รับความรู้ และมีแนวคิดในการจัดกิจกรรมมุมส่งเสริมการอ่านเพิ่มมากขึ้น
- ได้รับความรู้จากการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ๆ มาประยุกต์ใช้กับงานห้องสมุดเพิ่มมากขึ้น
- การพัฒนาบุคลากร สามารถเพิ่มประสิทธิภาพด้านทักษะในการทำงาน ตลอดจนปรับเปลี่ยนทัศนคติของบุคลากรให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อทำให้บุคลากรทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีการทำงานเป็นทีมมากขึ้น | - ควรส่งเสริมจัดกิจกรรมต่างๆ ที่น่าสนใจในห้องสมุดเพื่อให้ผู้ใช้บริการได้มีส่วนร่วมในกิจกรรม และสนใจที่จะเข้ามาหาความรู้ในห้องสมุดเพิ่มมากยิ่งขึ้น
- ควรส่งเสริมและพัฒนาบุคลากร ให้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ที่จะพัฒนางานบริการให้แก่ผู้ใช้บริการ และควรนำเทคโนโลยี ไปปรับประยุกต์ใช้ในการพัฒนางานสารสนเทศ
- ควรส่งเสริมให้บุคลากร มีการทำงานเป็นทีม มีความสามัคคี และจะได้มีการแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ซึ่งกัน และกัน เพื่อที่จะทำให้ห้องสมุดมีการพัฒนาไปอย่างต่อเนื่องและไม่หยุดนิ่ง | 12/09/2559 |
โครงการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ | | - เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรในหน่วยงาน มีความรู้ความเข้าใจในการใช้ภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้น
- เพื่อให้สามารถใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง
- เพื่อให้สามารถใช้ภาษาอังกฤษในการปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ ในระหว่างการอบรมด้วยกัน
|
| - ได้รับความรู้ ในการรับ-ส่ง e-mail ภาษาอังกฤษ
- ได้รับความรู้ เครื่องหมาย, สัญลักษณ์ และป้ายต่างๆ ภาษาอังกฤษ
- ได้รับความรู้ศัพท์ภาษาอังกฤษ อุปกรณ์ เครื่องมือ และเครื่องใช้ในสำนักงานต่างๆ
- ได้รับความรู้ ในการแนะนำ หน่วยงานที่สังกัด ตำแหน่ง รายละเอียดหน้าที่ในการทำงาน เป็นภาษาอังกฤษ
- ได้รับความรู้ในการใช้ภาษาอังกฤษสนทนาทางโทรศัพท์ในหน่วยงาน และต่างหน่วยงาน | - ควรส่งเสริมในหน่วยงานให้มีการจัดฝึกอบรมภาษาอังกฤษ เพื่อสามารถทำให้บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจในการใช้ภาษาอังกฤษเพิ่มมากขึ้น และสามารถใช้ภาษาอังกฤษในการปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม | 12/09/2559 |
การประชุมเชิงปฏิบัติการ "ห้องสมุดมนุษย์แห่งประเทศไทย" ครั้งที่ 5 | | |
| | | |
โครงการ PSRU BOOK FAIR ประจำปี พ.ศ. 2559 | | |
| | | |
การฝึกอบรมการใช้ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เพื่อการสืบค้น โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุดในประเทศไทย (ThaiLis) ประจำปี 2559 | | ในปัจจุบันสารสนเทศเข้ามามีบทบาทต่อชีวิตประจำวันมากขึ้น โดยเฉพาะในด้านการเรียนการสอน การทำวิจัย ซึ่งทั้งหมดนี้เกี่ยวข้องกับอาจารย์ เจ้าหน้าที่ และนักศึกษา ระดับปริญญาตรี และระดับบัณฑิตศึกษา ฯลฯ โดยใช้แหล่งเรียนรู้สำหรับค้นคว้าหาความรู้จากห้องสมุดของมหาวิทยาลัย ที่มีทรัพยากรสารสนเทศให้บริการที่หลากหลาย
ซึ่งฐานข้อมูลออนไลน์ เป็นอีกทางเลือกหนึ่งของการเข้าถึงข้อมูลอย่างง่ายดาย และอย่างหลากหลาย เหมาะแก่การค้นคว้า ฐานข้อมูลออนไลน์เป็นทรัพยากรสารสนเทศที่มีความทันสมัย รวบรวมสารสนเทศไว้เป็นจำนวนมาก และหลากหลายสาขาวิชา ไม่ว่าจะเป็นสาขาทางวิทยาศาสตร์ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ การศึกษา ฯลฯ ซึ่งสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ได้เป็นผู้จัดซื้อให้มหาวิทยาลัยของรัฐทุกแห่งได้ใช้ร่วมกัน แต่จากสถิติผู้เข้าใช้บริการพบว่ามีผู้เข้าใช้บริการน้อยมาก ยังมีอาจารย์ เจ้าหน้าที่ จำนวนมากที่ไม่ทราบวิธีการใช้งาน หรือทราบวิธีใช้แต่ยังไม่ลึกซึ้งนัก ดังนั้น สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) จึงได้มีการจัดฝึกอบรม โดยให้บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด และบริษัท บุ๊คเน็ท จำกัด จัดฝึกอบรมการเข้าใช้งานฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ จำนวน 8 ฐานข้อมูล |
| -ได้รับความรู้ และเทคนิค ในการใช้งานฐานข้อมูล ProQuest Dissertations & Theses Global
- ได้รับความรู้ และเทคนิค ในการใช้งานฐานข้อมูล ABI/INFORM Complete
- ได้รับความรู้ และเทคนิค ในการใช้งานฐานข้อมูล ACM Digital Library
- ได้รับความรู้ และเทคนิค ในการใช้งานฐานข้อมูล IEEE/IET Electronic Library
- ได้รับความรู้ และเทคนิค ในการใช้งานฐานข้อมูล Web of Science
- ได้รับความรู้ และเทคนิค ในการใช้งานฐานข้อมูล SpringerLink-Journal
- ได้รับความรู้ และเทคนิค ในการใช้งานฐานข้อมูล Emerald Management
- ได้รับความรู้ และเทคนิค ในการใช้งานฐานข้อมูล American Chemical Society Journal (ACS)
- สามารถนำความรู้ที่ได้รับ นำไปแนะนำ และถ่ายทอดให้กับผู้สนใจ และผู้ใช้บริการได้มากขึ้น | | 23/03/2559 |
โครงการศึกษาดูงานระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (MIS) และการจัดกิจกรรมของห้องสมุด สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ | | - ได้เห็นการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบของสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
- ได้เห็นการให้บริการต่างๆ ของสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
- ได้เห็นพื้นที่ให้บริการ และการจัดภูมิทัศน์ ของสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
- ได้ทราบข้อมูลขั้นตอนในการจัดหาและจัดซื้อทรัพยากรสารสนเทศ ของสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ อาทิ หนังสือ สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง สื่อโสตทัศน์ และทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์
- ได้เห็นการออกร้านจำหน่ายหนังสือจากสำนักพิมพ์ชั้นนำ ในงาน CMU BOOK FAIR ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
- ได้เห็นการจัดนิทรรศการ และกิจกรรมต่างๆ ของงาน CMU BOOK FAIR ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
|
| - นำความรู้ในส่วนที่ได้รับจากการศึกษาดูงาน มาพัฒนางาน และนำมาปรับปรุงงานที่ได้รับปฏิบัติ และรับผิดชอบเพิ่มมากขึ้น
- ได้รับความรู้ และมีแนวคิดในการจัดนิทรรศการ และกิจกรรมต่างๆ ของงาน BOOKS & IT FAIR
| - ควรส่งเสริมจัดกิจกรรมต่างๆ ที่น่าสนใจในห้องสมุดเพื่อให้ผู้ใช้บริการได้มีส่วนร่วมในกิจกรรม และสนใจที่จะเข้ามาหาความรู้ในห้องสมุดมากยิ่งขึ้น
- ควรส่งเสริมและพัฒนาบุคลากร ให้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ที่จะพัฒนางานบริการให้แก่ผู้ใช้บริการ และควรนำเทคโนโลยี ไปปรับประยุกต์ใช้ในการพัฒนางานสารสนเทศ
- ควรส่งเสริมให้บุคลากร มีการทำงานเป็นทีม มีความสามัคคี และจะได้มีการแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ซึ่งกัน และกัน เพื่อที่จะทำให้ห้องสมุดมีการพัฒนาไปอย่างต่อเนื่องและไม่หยุดนิ่ง
| 23/03/2559 |
โครงการเครือข่ายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา และจัดให้มีการประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง "การดำเนินกิจกรรมบนเครือข่ายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา ครั้งที่ 32 (WUNCA 32)" | | 1. จากการรับฟังการบรรยาย เรื่อง Digital Service , Digital Office : everyone can create it
Digital Service
การนำไอทีมาปรับปรุงงานห้องสมุด ใช้เทคโนโลยีมาช่วยในการบริหารจัดการ เช่น
- การยืม-คืนหนังสือ
- บริการหนังสือเร่งด่วน
- บริการตรวจสอบค่าดัชนีผลกระทบการอ้างอิงของวารสาร
- การบริการด้านทรัพยากร มีการสรุปหนังสือทุกเดือน
- VDO Online การยืม VDO ผ่าน server
- เก็บสถิติการเข้าออกห้องค้นคว้ากลุ่ม โดยใช้สมาร์ทคาร์ด
Digital Office
สร้างนวัตกรรมใหม่ๆ ในงาน
- งานบริการสารสนเทศ
- งานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
- งานธุรการ
- งานการเงินพัสดุ
2. จากการรับฟังการบรรยาย เรื่อง แนะนำการใช้งานระบบห้องสมุดอัตโนมัติ Web-based ALIST
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติเพื่อสถาบันอุดมศึกษาไทย สำหรับ การใช้งานผ่านเว๊บ http://www.alist.psu.ac.th
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ Web-based ALIST ได้มีการพัฒนา Module ไปได้ 3 Module ในช่วงระยะเวลา 3 เดือน แต่ยังไม่สมบูรณ์
- งานจัดทำรายการสืบค้น (Cataloging)
- งานให้บริการยืม-คืน (Circulation))
- งานผู้ดูแลระบบ (System Administration)
|
| - นำความรู้ในส่วนที่ได้รับมาพัฒนางาน และนำมาปรับปรุงงานที่ได้รับปฏิบัติ และรับผิดชอบเพิ่มมากขึ้น
- ได้รับความรู้จากการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ๆ มาประยุกต์ใช้กับงานห้องสมุดเพิ่มมากขึ้น
| | 12/09/2559 |
โครงการ "การจัดการความรู้" เรื่อง การทำคู่มือปฏิบัติงานและงานวิจัยในการทำงานของบุคลากร สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ" | | การเขียนงานวิจัย
การเขียนงานวิจัยแต่ละเรื่อง ผู้วิจัยต้องทราบว่าเมื่อวิจัยเสร็จเรียบร้อยแล้ว ผลการวิจัยที่ได้จะนำไปใช้ประโยชน์อย่างไร ซึ่งการนำผลการวิจัยนำไปใช้นั้นขึ้นอยู่กับงานวิจัย โดยอาจนำผลการวิจัยไปใช้ในการวางแผนหรือกำหนดนโยบาย เพื่อปรับปรุงหรือพัฒนางานที่ผู้เขียนงานวิจัยได้ทำงาน และปฏิบัติงานจริง ในการเขียนประโยชน์คาดว่าจะได้รับจากการวิจัยนั้นจะต้องให้สอดคล้องกับเรื่องที่ศึกษา และวัตถุประสงค์การวิจัย ชื่อเรื่องควรกะทัดรัด ชัดเจนเข้าใจง่าย ใช้ภาษาเขียน (ไม่ใช้ภาษาพูด) พยายามใช้คำสำคัญของคำถามงานวิจัย และแสดงประเด็นปัญหาอย่างชัดเจน
การทำคู่มือปฏิบัติงาน
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบข้าราชการ (ก.พ.ร.) ให้ความสำคัญกับการจัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน และประโยชน์ของการจัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน
ไว้ดังนี้
1. เพื่อให้การปฏิบัติงานในปัจจุบันเป็นมาตรฐานเดียวกัน
2. ผู้ปฏิบัติงานทราบและเข้าใจว่าควรทำอะไรก่อนและหลัง
3. ผู้ปฏิบัติงานทราบว่าควรปฏิบัติงานอย่างไร เมื่อใด กับใคร
4. เพื่อให้การปฏิบัติงานสอดคล้องกับ นโยบาย วิสัยทัศน์ ภารกิจ
และเป้าหมายของหน่วยงาน
5. เพื่อให้ผู้บริหารงานตามงานได้ทุกขั้นตอน
6. เป็นเครื่องมือในการฝึกอบรม
7. ใช้เป็นเอกสารอ้างอิงในการทำงาน
8. ใช้เป็นสื่อในการประสานงาน
9. ได้งานที่มีคุณภาพตามกำหนด
10. ผู้ปฏิบัติงานไม่เกิดความสับสน
11. แต่ละหน่วยงานรู้งานซึ่งกันและกัน
12. บุคลากร หรือเจ้าหน้าที่สามารถทำงานแทนกันได้
|
| การเขียนงานวิจัย
- ได้รับความรู้ และมีแนวคิดในการเขียนงานวิจัยเพิ่มมากขึ้น
- ได้รับความเข้าใจในการเขียนงานวิจัยได้อย่างถูกต้องและครบถ้วน
การทำคู่มือปฏิบัติงาน
- ได้รับความรู้ในการจัดทำคู่มือปฏิบัติงานเพิ่มมากขึ้น
- ได้รับความเข้าใจในการจัดทำคู่มือได้อย่างถูกต้องและครบถ้วน
| | 26/03/2559 |
สัมมนาทางวิชาการบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ ในหัวข้อ "ห้องสมุดและวิชาชีพบรรณารักษ์ในประเทศญี่ปุ่นและในประเทศไทย" | | ประเทศญี่ปุ่นระบบการศึกษาคล้ายๆ กับบ้านเรา เน้นการเรียนรู้แบบการศึกษาตลอดชีวิต ให้เห็นความสำคัญห้องสมุดเป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิต จะปฏิรูปการเรียนรู้ การเรียน การสอน ทุกๆ อาชีพ ให้เรียนรู้ทางด้านภาษาอังกฤษเพื่อรับรู้ข่าวสารจากต่างประเทศด้วยตนเอง เพื่อให้รู้เท่าทันสื่อ
พัฒนาโดยใช้ ICT ตอบคำถาม คำตอบจะขึ้นที่จอคอมพิวเตอร์ แล้วเอาคำตอบที่ได้ทั้งหมดมาบูรณาการร่วมกัน
Service Organization ทุกหน่วยงานของห้องสมุด คือหน่วยงานบริการ ควรมีการพัฒนาจัดสภาพแวดล้อม บรรยากาศ ครุภัณฑ์ต่างๆ ภายในห้องสมุดอยู่ตลอดเวลา
ห้องสมุดโรงเรียน และห้องสมุดประชาชนในประเทศญี่ปุ่น จะมีกฎหมายห้องสมุด และในมหาวิทยาลัยห้องสมุดจะต้องมีระบบห้องสมุดของตนเอง และต้องมีมาตรฐาน การจัดทำห้องสมุดต้องมีปรัชญา
ห้องสมุดต้องทันการเปลี่ยนแปลงทางสังคมตลอดเวลา ผู้ใช้ที่เข้ามาใช้บริการในห้องสมุดไม่ใช่นับสถิติแต่ผู้เข้าใช้เฉพาะการเข้า-ออก แต่ผู้ใช้บริการต้องใช้งานบริการจริงๆ เช่นบริการ Database และ e-Book ให้บริการห้องสมุด 24 ชั่วโมง อาทิ ทางเว๊บไซด์ ทางอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ
การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านในห้องสมุดในโรงเรียนที่ประเทศญี่ปุ่นจะเน้นส่งเสริมการอ่านภาษาอังกฤษ มีการจัดกิจกรรมเล่านิทาน และการจัดนิทรรศการในห้องสมุดจะจัดตามเทศกาลของประเทศญี่ปุ่น
การจัดห้องสมุด ตู้ โต๊ะ เก้าอี้ จะเน้นเป็นเฟอร์นิเจอร์ไม้ เพราะในประเทศญี่ปุ่น มีป่าไม้เป็นจำนวนมาก
|
| 1. ได้เห็นความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการพัฒนางานสารสนเทศในเชิงรุก
2. ได้เห็นการพัฒนานำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในงานห้องสมุด เพื่อจะเอื้อให้ผู้ใช้บริการสามารถเข้าถึงทรัพยาการได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว
3. ได้เปิดกว้างทางด้านความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ที่ได้เห็นห้องสมุดจากสถาบันอื่นๆ มีการพัฒนางานที่ทำให้เห็นว่าห้องสมุดเป็นมากกว่าห้องสมุดแต่เป็นศูนย์ข้อมูลและความรู้ ที่ทางห้องสมุดได้มีการนำมาจัดองค์ความรู้ไว้ เพื่อให้ผู้ใช้บริการได้เข้าถึง
4. มีแนวคิดในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านเพิ่มมากขึ้น
5. สามารถนำความรู้ที่ได้รับนำมาประยุกต์และพัฒนางานของห้องสมุดในหน่วยงานได้มากขึ้น | 1. ควรส่งเสริมจัดกิจกรรมต่างๆ ที่น่าสนใจในห้องสมุดเพื่อให้ผู้ใช้บริการได้มีส่วนร่วมในกิจกรรม และสนใจที่จะเข้ามาหาความรู้ในห้องสมุดมากยิ่งขึ้น
2. ควรส่งเสริมและพัฒนาบุคลากร ให้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ที่จะพัฒนางานบริการให้แก่ผู้ใช้บริการ และควรนำเทคโโลยี ไปปรับประยุกต์ใช้ในการพัฒนางานสารสนเทศ
3. ควรส่งเสริมให้บุคลากร มีการทำงานเป็นทีม มีความสามัคคี และจะได้มีการแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ซึ่งกันและกัน เพื่อที่จะทำให้ห้องสมุดพัฒนาไปอย่างต่อเนื่องและไม่หยุดนิ่ง | 23/03/2559 |
การประชุมวิชาการของห้องสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2558 "คิดใหม่ ทำใหม่ บรรณารักษ์ยุคใหม่" | | การปรับปรุงกระบวนการทำงาน (ด้วยกิจกรรม QCC)
- ความจำเป็นในการสร้าง "วัฒนธรรมบริการ"
- ความหมายของคำว่า Service ตามมาตรฐานสากล ISO 9000
- องค์ประกอบสำคัญของการบริการ
- ทำความรู้จัก วงจรบริการ (Service Cycle)
- ปัญหาที่พบบ่อยในองค์กรบริการ
- ความสัมพันธ์ของลูกค้าภายนอก และลูกค้าภายใน
- เป้าหมายสำคัญ 2 จุด ในการควบคุมคุณภาพ ของ งานบริการ
- กระบวนการแก้ไขปัญหาของ TQM
- กิจกรรมกลุ่มควบคุมคุณภาพ
QCC (Quality Control Cycle) เป็นกิจกรรมที่สร้างความร่วมมือร่วมใจในการสร้างผลงานให้ได้คุณภาพตามเป้าหมาย โดยค้นหาจุดอ่อน (โอกาส) และหาสาเหตุแล้วระดมปัญญาแก้ไขปรับปรุงและวางแผนคุณภาพอย่างเป็นระบบ
ขั้นตอนและวิธีการดำเนินกิจกรรม QCC
1. จัดตั้งกลุ่ม และค้นหาหัวข้อปัญหา
2. สำรวจสภาพปัจจุบัน
3. วางแผนกิจกรรม
4. วิเคราะห์สาเหตุ
5. กำหนดแผนการแก้ไข และดำเนินการตามแผน
6. ตรวจสอบผล
7. กำหนดมาตรฐาน/จัดทำรายงาน
|
| 1. ได้พัฒนาทักษะการทำงานที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับงานห้องสมุดหรือการจัดการความรู้
2. ได้รู้จักเครื่องมือที่ทันสมัยในการพัฒนากิจกรรมหรือการบริหารจัดการห้องสมุด
3. ได้เรียนรู้แนวทางใหม่ๆ ในการพัฒนาตนเองและการทำงาน
4. ได้แลกเปลี่ยนความรู้ความคิดเห็นและประสบการณ์ในการพัฒนากิจกรรมและเครื่องมือต่างๆ ของห้องสมุด | | 18/09/2558 |
โครงการ ประชุมเชิงปฏิบัติการ การทบทวนผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ 2558 และการจัดทำแผนการดำเนินงานประจำปี 2559 | | |
| | | |
การฝึกอบรมการใช้โปรแกรมฝึกภาษา Access English ของสำนักพิมพ์ Knowledge Transmission และฐานข้อมูลมัลติมีเดียของสำนักพิมพ์ Binumi | | โปรแกรมฝึกภาษา Access English ของสำนักพิมพ์ Knowledge Transmission เป็นโปรแกรมสำหรับฝึกภาษา (ทดลองใช้) ด้วยตนเอง ตัวโปรแกรมมีแบบทดสอบที่มีเนื้อหาครอบคลุม และมีการแบ่งระดับเพื่อใช้ให้เหมาะสมกับผู้ใช้งานที่มีพื้นฐานทางภาษาที่ต่างกัน และยังสามารถสร้างกรุ๊ปเพื่อเรียนรู้ร่วมกันอีกด้วยซึ่งสามารถใช้งานได้หลายช่องทางทั้งสมาร์ทโฟน แทปแล็ต โน้ตบุุ๊ค คอมพิวเตอร์ ทั้งแบบออนไลน์และออฟไลน์ สารมารถเข้าใช้งานผ่าน http://accessenglishnow.com ด้วยเบราเวอร์ Google Chrome
ฐานข้อมูลมัลติมีเดีย Binumi (บินยูมิ) เป็นเครื่องมือสร้างวิดีโอแบบออนไลน์ด้วยตนเอง เป็นแหล่งรวบรวมคลิปวิดีโอ ภาพ เสียง และเครื่องมือตัดต่อที่ใช้งานง่าย สามารถสร้างสื่อการเรียนการสอน การนำเสนอผลงานในรูปแบบวิดีโอที่น่าสนใจได้สามารถดาวน์โหลดไปใช้งานได้อย่างไม่จำกัด และส่งต่อได้อย่างรวดเร็ว โดยสามารถเข้าใช้งานผ่านhttp://www.binumi.com
|
| 1. โปรแกรมฝึกภาษา Access English ได้ให้ความรู้ในการช่วยฝึกภาษาอังกฤษ ทั้งทักษะฟัง พูด อ่าน และเขียน เพิ่มมากขึ้น
2. ฐานข้อมูลมัลติมีเดีย Binumi (บินยูมิ) เป็นเครื่องมือสร้างวิดีโอแบบออนไลน์ด้วยตนเอง สามารถสร้างสื่อการเรียนการสอน และการนำเสนอผลงานในรูปแบบวิดีโอที่น่าสนใจได้ เพิ่มมากขึ้น
3. สามารถนำความรู้ที่ได้รับ ไปถ่ายทอดให้กับผู้สนใจ และผู้ใช้บริการได้มากขึ้น | | 17/09/2558 |
โครงการพัฒนาบุคลากรตามแผนพัฒนาบุคลากร เรื่อง "การเรียนรู้ในโลกดิจิทัลและบทบาทห้องสมุดยุคใหม่" | | |
| | | |
โครงการศึกษาดูงาน และประชุมเชิงปฏิบัติการทบทวนความเสี่ยงของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ประจำปีงบประมาณ 2558 เพื่อศึกษาดูงานการบริหารจัดการและการให้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ และการบริหารจัดการและการให้บริการห้องสมุด | | |
| | | |
อบรมเชิงปฏิบัติการ โครงการการป้องกันโรคจากการทำงาน ออฟฟิศ ซินโดรม | | |
| | | |
การประชุมเชิงปฏิบัติการ "การพัฒนาศักยภาพองค์กรและการจัดทำระบบบริหารคุณภาพ ตามมาตราฐานสากล ISO 9001 : 2008" | | |
| ได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องการจัดทำระบบบริหารคุณภาพ ตามมาตราฐานสากล ISO 9001 : 2008 เพิ่มมากขึ้น | | |
อบรมการใช้ Open Source Freeware ในการจัดการสารสนเทศ | | |
| ได้รับความรู้การใช้งาน Open Source Freeware ในการจัดการสารสนเทศ เพิ่มมากขึ้น | | |
อบรมหลักสูตรเทคนิคการทำงานด้วย Microsofe Office 2010 อย่างมืออาชีพ | | |
| ได้รับความรู้ และเทคนิคการทำงานด้วย Microsofe Office 2010 เพิ่มมากขึ้น | | |
การฝึกอบรมการใช้งานฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เพื่อการสืบค้น ประจำปีงบประมาณ 2554 จำนวน 4 ฐานข้อมูล | | |
| - ได้รับความรู้ในการใช้งานฐานข้อมูล EMERALD MANAGEMENT E-JOURNALS(EM175)
- ได้รับความรู้ในการใช้งานฐานข้อมูล
- ได้รับความรู้ในการใช้งานฐานข้อมูล
- ได้รับความรู้ในการใช้งานฐานข้อมูล | | |
โครงการสัมมนา PULINET วิชาการ ครั้งที่ 1 "CREATIVE LIBRARY" | | |
| - ทำให้เห็นการพัฒนาของห้องสมุดต่างๆ ในเครือข่าย PULINET ที่ได้มีการพัฒนาให้บริการแก่ผู้ใช้บริการอย่างไม่หยุดนิ่ง
- ได้เห็นความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการพัฒนางานสารสนเทศในเชิงรุก
- ได้เห็นการพัฒนานำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในงานห้องสมุด เพื่อจะเอื้อให้ผู้ใช้บริการสามารถเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว
- ได้เปิดกว้างทางด้านความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ที่ได้เห็นห้องสมุดจากสถาบันอื่นๆ มีการพัฒนางานและมุมานะทำงาน ที่ทำใหเห็นว่าห้องสมุดเป็นมากกว่าห้องสมุดแต่เป็นศูนย์ข้อมูลและความรู้ ที่ทางห้องสมุดได้มีการนำมาจัดองค์ความรู้ไว้ เพื่อให้ผู้ใช้บริการได้เข้าถึง เช่น การจัดการสารสนเทศจากภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อส่งเสริม บริการห้องสมุดสู่ชุมชน หรืออาหารพื้นบ้านล้านนา : จากภูมิปัญญาท้องถิ่น และห้องสมุด 24 ชั่วโมง เป็นต้น | - ควรส่งเสริมจัดกิจกรรมต่างๆ ที่น่าสนใจในห้องสมุดเพื่อให้ผู้ใช้บริการได้มีส่วนร่วมในกิจกรรม และสนใจที่จะเข้ามาหาความรู้ในห้องสมุดมากยิ่งขึ้น
- ควรส่งเสริมและพัฒนาบุคลากร ให้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ที่จะพัฒนางานบริการให้แก่ผู้ใช้บริการ และควรนำเทคโนโลยี ไปปรับประยุกต์ใช้ในการพัฒนางานสารสนเทศ
- ควรส่งเสริมให้บุคลากร มีการทำงานเป็นทีม มีความสามัคคี และจะได้มีการแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ซึ่งกันและกัน เพื่อที่จะทำให้ห้องสมุดพัฒนาไปอย่างต่อเนื่องและไม่หยุดนิ่ง
| 31/08/2561 |
โครงการศึกษาดูงาน "พัฒนาศักยภาพในการบริหารจัดการองค์กร" | | |
| ได้รับความรู้ และนำความรู้ที่ได้รับมาพัฒนางานที่ปฏิบัติได้มากกขึ้น | | |
โครงการศึกษาดูงาน "พัฒนาศักยภาพในการบริหารจัดการองค์กร และการปฏิบัติงานของบุคลากร" | | |
| 1. ได้รับความรู้ และนำความรู้ที่ได้รับมาปรับปรุง และพัฒนางานห้องสมุด ได้มากขึ้น
2. นำความรู้ที่ได้รับมาปรับปรุง และพัฒนางานที่ปฏิบัติได้มากขึ้น | | |
ศึกษาดูงาน "พัฒนาศักยภาพในการบริหารจัดการองค์กร และการปฏิบัติงานของบุคลากร" | | |
| 1. ได้นำการศึกษาดูงานมาพัฒนาและปรับปรุงในส่วนงานที่รับผิดชอบเพิ่มมากขึ้น
2. ได้รับความรู้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน และได้ความรู้จากกลุ่มงานต่างๆ ด้านการพัฒนางานในแต่ละกลุ่มงาน | | 15/11/2556 |
หลักสูตร : การออกแบบและพัฒนาเว๊บไซต์ด้วยโปรแกรม Adobe Photoshop&Dreamweaver CS3 | | |
| ได้รับความรู้ในปฏิบัติการออกแบบต่างๆ ในการใช้โปรแกรม Adobe Photoshop&Dreamweaver CS3 เพิ่มมากขึ้น | | |
หลักสูตร : การพัฒนาสารสนเทศดิจิทัล โดยใช้ Greenstone มาประยุกต์ | | |
| 1. สามาถนำความรู้ที่ได้รับมาพัฒนางานที่ปฏิบัติได้
2. นำความรู้ที่ได้รับมาแนะนำผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงานได้
| | |
ประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การดำเนินกิจกรรมบนระบบเครือข่ายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา ครั้งที่ ๒๐ | | มีผู้เข้ามาร่วมประชุมในครั้งนี้อย่างมากมายในหลายสถาบัน ได้เห็นงานมีการออกร้านนำเสนอขาย จำหน่ายเครื่องมือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยีใหม่ๆ และอุปกรณ์สำนักงาน อย่างมากมาย |
| ได้รับความรู้จากการไปประชุม การดำเนินกิจกรรมบนระบบเครือข่ายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา ครั้งที่ ๒๐ (Wanca ครั้งที่ ๒๐) ได้เห็นการนำเสนอเทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้ในการพัฒนางานของห้องสมุดได้ | | |
หลักสูตร : การใช้ฐานข้อมูลอ้างอิงออนไลน์เพื่อการศึกษาค้นคว้า และวิจัย | | |
| 1. ได้รับความรู้ในการใช้ฐานข้อมูลอ้างอิงออนไลน์แต่ละฐานเพิ่มมากขึ้น
2. นำความรู้ที่ไดรับ ไปถ่ายทอดให้กับผู้สนใจ และผู้ใช้บริการได้มากขึ้น | | |
โครงการศึกษาดูงาน "พัฒนาองค์ความรู้และพัฒนาศักยภาพบุคลากรในการปฏิบัติงานของบุคลากร" | | |
| นำส่วนที่ได้รับจากการศึกษาดูงานมาพัฒนา และปรับปรุง งานที่ได้ปฏิบัติ และรับผิดชอบได้มากขึ้น | | |
การอบรม MARC 21 สำหรับลงรายการหนังสือ | | |
| 1. ไดรับความรู้ความเข้าใจในหลักการลงรายการหนังสือตามมาตรฐาน MARC 21 เพิ่มมากขึ้น
2. สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในงานที่ปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น | | |
การศึกษาดูงานการบริหารจัดการสารสนเทศและการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ | | |
| นำส่วนที่ได้รับจากการศึกษาดูงานมาพัฒนา และปรับปรุง งานที่ได้ปฏิบัติ และรับผิดชอบได้มากขึ้น | | |