กลับไป
   
ข้อมูลส่วนตัว
ชื่อ - สกุล :  นายสุภรัตน์ กรุดฉ่ำ
ประเภทบุคลากร :  พนักงานมหาวิทยาลัย
สังกัด/หน่วยงาน :  ศูนย์วิทยบริการ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
ตำแหน่งงาน :  นักวิชาการคอมพิวเตอร์
สถานะ :  ทำงานปกติ

  ประวัติการบริหาร  
ไม่มีข้อมูล
     
  ประวัติการศึกษา  
ระดับปีที่สำเร็จวุฒิการศึกษาหลักสูตรสาขาวิชาสถาบันประเทศ
ปริญญาตรี2545วิทยาศาสตรบัณฑิตวิทยาการคอมพิวเตอร์วิทยาการคอมพิวเตอร์สถาบันราชภัฏนครสวรรค์Thailand
   
ผลงานทางวิชาการ

ไม่พบข้อมูลผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง


ผลงานวิจัยเชิงโครงการ

ไม่มีข้อมูล

     
  รายงานการฝึกอบรม/ดูงาน  
หัวข้อปัญหา/อุปสรรคสรุปผลไฟล์แนบผลที่ได้รับข้อเสนอแนะวันที่รายงาน
การประชุมโครงการพัฒนาระบบสหบรรณานุกรม (Union Catalog) เป็นการประชุมเพื่อให้ทราบแนวทางปฏิบัติในการลงรายการสหบรรณานุกรมให้เป็นมาตรฐานเดียวกันและเตรียมความพร้อมสำหรับการให้บริการยืม คืนระหว่างห้องสมุดสมาชิกบนฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม เพื่อเตรียมความพร้อมในการให้บริการยืมคืนระหว่างห้องสมุดของสมาชิกฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม  
สัมนาวิชาการเรื่อง "เทคโนโลยีห้องสมุดดิจิทัล 4.0" และกิจกรรม Workshop การพัฒนาระบบแอปพลิเคชั่น Line Chatbot AI เป็นการอบรมเชิงบฏิบัติการเกี่ยวกับหลักการ แนวคิดและ การสร้าง Line Chatbot AI เพื่อช่วยเพิ่มการบริการในงานห้องสมุด สามารถสร้าง Line Chatbot AI ของ Abdul เบื้องต้นได้และสามารถนำไปประยุกต์ใช้เพื่องานบริการระบบห้องสมุดต่อไป  
โครงการบริการวิชาการห้องสมุดภายในเขตอำเภอเมือง จ.นครสวรรค์ เพื่อติดตั้งระบบห้องสมุดอัตโนมัติขนาดเล็กให้กับโรงเรียนขนาดเล็กเพื่อใช้ในการจัดการกับห้องสมุดโรงเรียนให้เป็นระบบ เพื่อสะดวกในการจัดการและการบริการนักเรียน    
การประชุมเชิงปฏิบัติการ "การดำเนินกิจกรรมบนระบบเครือข่ายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา" ครั้งที่ 36 เพื่อเป็นการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรที่เป็นสมาชิกในเครือข่ายฯ ให้มีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษาร่วมกับสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี เห็นสมควรจัดให้มีการดำเนินการประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การดำเนินกิจกรรมบนระบบเครือข่ายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา ครั้งที่ 36 (36th WUNCA)” ขึ้นในช่วงระหว่างวันที่ 16-19 มกราคม 2561 ณ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม เข้าร่วมประชุมเพื่อศึกษารูปแบบการจัดงาน WUNCA ในทุกๆภาคส่วนเพื่อเตรียมความพร้อมในการจัดงาน WUNCA ครั้งที่ 37 ต่อไป 06/03/2561
โครงการบริการวิชาการห้องสมุดภายใน จ.อุทัยธานีเนื่องจากเป็นพื้นที่ห่างไกล จึงมีความไม่สะดวกบ้างในการเดินทางและมีปัญหาเรื่องระบบไฟฟ้าที่ต้องใช้ในการทำการลงระบบห้องสมุดอัตโนมัติ Obeclibทำการติดตั้งห้องสมุดอัตโนมัติให้แต่ละโรงเรียนและตรวจสอบระบบคอมพิวเตอร์ให้แต่ละโรงเรียนเพิ่มเติมเพื่อให้ใช้งานระบบห้องสมุดอัตโนมัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำการติดตั้งระบบห้องสมุดอัตโนมัติให้โรงเรียนได้ใช้งานจัดการกับห้องสมุดอย่างมีประสิทธิภาพ  
การประชุมเชิงปฏิบัติการ "การดำเนินกิจกรรมบนระบบเครือข่ายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา" ครั้งที่ 35 การพัฒนาศักยภาพของบุคลากรที่เป็นสมาชิกในเครือข่ายฯ ให้มีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษาร่วมกับสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี เห็นสมควรจัดให้มีการดำเนินการประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การดำเนินกิจกรรมบนระบบเครือข่ายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา ครั้งที่ 35 (35th WUNCA)” ขึ้นในช่วงระหว่างวันที่ 19-21 กรกฎาคม 2560 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี จังหวัดจันทบุรี ได้ศึกษารูปแบบการจัดงาน เพื่อที่จะนำไปเป็นต้นแบบในการจัดงาน ครั้งที่ 37 ที่ทางมหาวิทยาลัยฯ ได้เป็นเจ้าภาพ และได้เข้ารับการอบรมในหัวข้อ "การบริหารจัดการงานในองค์กรด้วยระบบ ARITC One Stop Service" และได้รับโปรแกรมมาจากการอบรมมาเพื่อพัฒนาให้ใช้ได้กับหน่วยงาน 17/09/2560
รับมอบและอบรมการใช้งานโปรแกรมรับ - จ่ายอุปกรณ์เครื่องอ่านบัตรประชาชนผ่านระบบคอมพิวเตอร์ เป็นการรับมอบและอบรมการใช้งานโปรแกรมรับ - จ่ายอุปกรณ์เครื่องอ่านบัตรประชาชนผ่านระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อที่จะนำอุปกรณ์เครื่องอ่านบัตรประชาชนผ่านระบบคอมพิวเตอร์ไปใช้ในงานราชการได้  
อบรมการใช้งาน Microsoft Office365 เป็นการฝึกอบรมการใช้งานระบบ Microsoft Office365 มาใช้ในการทำงานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ได้เรียนรู้การใช้งาน Microsoft Office365 เกี่ยวกับฟังก์ชั่นต่างๆที่ทาง Microsoft Office365 ให้บริการเช่น Microsoft Onedrive เพื่อใช้สำหรับเป็นแหล่งสำรองข้อมูลอีกทางเลือกนึง  
การดำเนินงานระบบจัดเก็บเอกสารฉบับเต็มในรูปอิเล็กทรอนิกส์ ตามโครงการพัฒนาเครือข่ายห้องสมุดในประเทศไทย (ThaiLIS) จากความร่วมมือของห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาที่ได้ร่วมกันดำเนินโครงการพัฒนาเครือข่ายห้องสมุดในประเทศไทย (ThaiLIS) โดยร่วมกันจัดเก็บเอกสารฉบับเต็มในรูปอิเล็กทรอนิกส์ (Thai Digital Collection) ของวิทยานิพนธ์ งานวิจัย บทความวิชาการ หนังสือหายาก เข้าสู่ฐานข้อมูลกลางเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ซึ่งถือเป็นคลังข้อมูลทางวิชาการที่มีขนาดใหญ่ที่สุดแหล่งหนึ่ง โดยที่ปัจจุบันฐานข้อมูลได้ถูกพัฒนาและจัดเก็บเอกสารฉบับเต็มมากกว่า 370,000 เล่ม จากหน่วยงานความร่วมมือจำนวน 168 แห่ง และยังได้รับความสนใจจากสมาชิกที่เป็นสถาบันการศึกษาและหน่วยงานราชการที่ดำเนินงานวิจัยในด้านต่างๆ อย่างต่อเนื่อง และเพื่อให้สมาชิกทั้งใหม่และเก่าสามารถใช้งานระบบและนำเข้าข้อมูลได้อย่างต่อเนื่อง UniNet จึงได้จัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ ได้เรียนรู้การลงข้อมูล Metadata เพิ่มเติมและวิธีการลงข้อมูลแบบอื่นๆที่จำเป็นสำหรับเจ้าหน้าที่และผู้ดูแลระบบ  
ห้องสมุดดิจจิทัลกับการก้าวสู่ยูค Thailand 4.0 ประเทศไทย 4.0 หรือ Thailand 4.0 เป็นโมเดลหรือรูปแบบการพัฒนาเศรษฐกิจของไทยซึ่งมีต่อเนื่องมาตั้งแต่ประเทศไทย 1.0 หรือ Thailand 1.0 โดยประเทศไทย 1.0 หรือ Thailand 1.0 เน้นภาคการเกษตรประเทศ ไทย 2.0 หรือ Thailand 2.0เน้นอุตสาหกรรมเบา และประเทศไทย 3.0 หรือ Thailand 3.0ซึ่งเป็นโมเดลหรือรูปแบบปัจจุบันที่ใช้อยู่เน้นอุตสาหกรรมหนัก ส าหรับประเทศไทย 4.0 หรือ Thailand 4.0 เป็นโมเดลหรือรูปแบบ ใหม่ที่รัฐบาลสร้างขึ้นมาเพื่อปฏิรูปเศรษฐกิจของประเทศและจะพาประชาชนทั้งประเทศไปให้ถึงภายใน3-5 ปีนี้ กระบวนทัศน์ในการพัฒนาประเทศภายใต้ประเทศไทย 4.0 หรือ Thailand 4.0 มี 3 ประเด็นที่สำคัญคือ 1) เป็น จุดเริ่มต้นของยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ในการขับเคลื่อนไปสู่การเป็นประเทศที่มั่งคั่ง มั่นคง และยั่งยืน อย่างเป็นรูปธรรม 2) เป็น “Reform in Action” ที่มีการผลักดันการปฏิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจ การปฏิรูปการวิจัยและการพัฒนา และการปฏิรูปการศึกษาไปพร้อมๆ กัน 3) เป็นการผนึกกำลังของทุกภาคส่วนภายใต้แนวคิด “ประชารัฐ”โดยเป็นประชารัฐที่ผนึกกำลังกับเครือข่ายพันธมิตรทางธุรกิจ การวิจัยพัฒนา และบุคลากรระดับโลก ภายใต้หลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของการ “รู้จักเติม รู้จักพอ และรู้จักปัน” ในส่วนของห้องสมุดและการศึกษาจะอยู่ ภายใต้กระบวนทัศน์ที่ 2 สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ ได้เล็งเห็นความสำคัญของเรื่องดังกล่าว จึงได้กำหนดจัดประชุม วิชาการประจำปี 2559 เรื่อง ห้องสมุดดิจิทัลกับการก้าวสู่ยุคThailand 4.0เพื่อให้ห้องสมุดประเภทต่าง ๆ ผู้ที่อยู่ในแวดวงวิชาชีพบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ รวมทั้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รู้จักและมีความรู้เกี่ยวกับประเทศไทย 4.0 หรือ Thailand 4.0 และหัวข้อส าคัญอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องตลอดจนวิธีการก้าวเข้าสู่ยุคประเทศไทย 4.0 หรือ Thailand 4.0 โดยวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้และประสบการณ์ในเรื่องดังกล่าวเป็น อย่างดี 1. ทราบเรื่องราวความรู้ใหม่ๆ เกี่ยวกับยุคดิจิทัลในศตวรรษที่21 และยุคดิจิทัลกับ Thailand 4.0 2. ทราบถึงการก้าวสู่ยุค Thailand 4.0 ของห้องสมุดประเภทต่างๆ 3.เพื่อได้มีโอกาสพบปะแลกเปลี่ยนความรู้กัน โดยเฉพาะเรื่องของวิธีการก้าวเข้าสู่ยุค Thailand 4.0 ของห้องสมุด  
ก้าวใหม่การศึกษาไทย การศึกษาแบบเปิด การศึกษาแบบร่วมมือผสานใจ ได้เข้าร่วมรับฟังการสัมมนาวิชาการ “ก้าวใหม่ การศึกษาไทย การศึกษาแบบเปิด การศึกษาแบบร่วมมือผสานใจ เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ตลอดชีวิต” ดังนี้ 1. การจัดการเรียนการสอนในยุค Thailand 4.0 (วิทยากร:รองศาสตราจารย์ ดร. คงศักดิ์ ศรีแก้ว) 2. การจัดการเรียนการสอนแบบเปิดเพื่อตอบโจทย์การศึกษา 4.0(รองศาสตราจารย์ยืน ภู่วรวรรณ) 3. ลิขสิทธิ์ควรรู้กับการเรียนการสอนยุคดิจิทัล และการประยุกต์ใช้ OER และ MOOC เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนที่รองรับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21(อาจารย์บุญเลิศ อรุณพิบูลย์) 4. เครือข่ายความร่วมมือ การสร้างและการใช้คลังความรู้แบบเปิด : ประสบการณ์สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยขอนแก่น(คุณสิริพร ทิวะสิงห์) 5. ปราชญ์ชาวบ้านกับคลังความรู้แบบเปิดในสังคมดิจิทัล (นายสัตวแพทย์นิสิต ตั้งตระการพงษ์) โดยความร่วมมือระหว่างโครงการระบบสื่อสาระออนไลน์เพื่อการเรียนรู้ทางไกลเฉลิมพระเกียรติฯ สวทช. และ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ และสาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ได้รับความรู้ทางวิชาการที่เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และมีความเข้าใจเกี่ยวกับการเรียนการสอนอนไลน์ เพื่อการเรียนรู้แบบเปิดที่ผู้ใช้สามารถนำสารสนเทศไปใช้ในการสร้างสื่อการสอน รวมทั้งมีระบบ e-Learning เพื่อการเรียนรู้ทางไกลผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต  
การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ "การจัดการทรัพยากรห้องสมุด" โครงการ: การจัดการห้องสมุดในศตวรรษที่ 21 (Library Management in 21st Century Skill) วันที่ 27-28 ธันวาคม พ.ศ.2559 คณะบุคลากรของศูนย์วิทยบริการ ได้ออกบริการวิชาการด้านห้องสมุดโดยการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ "การจัดการทรัพยากรห้องสมุด" โครงการ: การจัดการห้องสมุดในศตวรรษที่ 21 (Library Management in 21st Century Skill) ณ โรงเรียนอีมาดอีทราย ตำบลแก่นมะกรูด อำเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี โดยการแนะนำจัดการทรัพยากรห้องสมุดเพื่อให้เป็นแหล่งเรียนรู้แก่นักเรียนและคณะครูของโรงเรียนในเขตพื้นที่อำเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี และแนะนำการติดตั้งโปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio และแนะนำการใช้โปรแกรมเพื่อการจัดการทรัพยากรห้องสมุดและให้บริการแก่สมาชิก ในการนี้ได้รับเกียรติจาก อาจารย์ดิเรก ศรีสุวรรณ ผู้อำนวยการ โรงเรียนอีมาดอีทราย เป็นผู้กล่าวเปิดงานและให้การต้อนรับคณะครูและนักเรียนที่เข้าร่วมอบรมในฐานะเจ้าภาพร่วมที่เอื้อเฟื้อสถานที่และบุคลากรช่วยให้การจัดอบรมในครั้งนี้ให้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี อบรมทั้ง2วัน ทุกโรงเรียนให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี และสามารถแนะนำจัดการทรัพยากรห้องสมุดเพื่อให้เป็นแหล่งเรียนรู้แก่นักเรียนและคณะครูของโรงเรียนในเขตพื้นที่อำเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี และแนะนำการติดตั้งโปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio และแนะนำการใช้โปรแกรมเพื่อการจัดการทรัพยากรห้องสมุดและให้บริการแก่สมาชิกห้องสมุดโรงเรียน รวมจำนวนทั้งหมด 10 โรงเรียน  
โครงการบริการด้านห้องสมุดแก่สังคม โรงเรียนวัดหนองปลิง  จากการลงพื้นที่ของโรงเรียนวัดหนองปลิง เป็นโรงเรียนมัธยม มีครูรับผิดชอบห้องสมุดจำนวน 1 ท่าน สภาพห้องสมุดมีความพร้อมทั้งทางด้านทรัพยากร และสถานที่ ทางบรรณารักษ์ได้มีการแนะนำการจัดทำทรัพยากรด้านงานเทคนิค การคัดแยกทรัพยากรให้เป็นหมวดหมู่ การลงรายการทางบรรณานุกรม ในส่วนการลงรายการมีปัญหาเรื่องระบบ ที่ไม่สามารถเข้าไปใช้ได้ จึงให้คุณสุภรัตน์ กรุดฉ่ำ ตรวจสอบและแก้ไขปัญหาดังกล่าวจนระบบโปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติใช้ได้ปกติ ในส่วนของกิจกรรม มีอาจารย์กาญจนา สดับธรรม เป็นผู้ดำเนินการจัดกิจกรรมโดยมีทีมงานบรรณารักษ์เป็นผู้ช่วยจัดกิจกรรมให้เด็กนักเรียน โดยแบ่งเป็น2 เวลา เวลาเช้าเป็นนักเรียนประถมศึกษา เวลาบ่ายเป็นนักเรียนมัธยม การจัดกิจกรรมครั้งนี้ทั้งนักเรียนประถมและนักเรียนมัธยมมีความสนุกสนานกับการเข้าร่วมกิจพรรมพร้อมมีความกล้าแสดงออก ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี สามารถให้บริการวิชาการด้านห้องสมุดให้แก่ห้องสมุดได้อย่างเป็นรูปธรรม และสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการจัดบริการวิชาการห้องสมุดแก่ชุมชนให้สอดคล้องตามพันธกิจของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์  
โครงประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพบุคคล และปรับทัศนคติที่มีต่อระบบมาตรฐาน ISO      
สัมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การใช้งานระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ALIST Web-base Application      
โครงการฝึกอบรมหลักสูตรการพัฒนาศักยภาพบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการในระดับอุดมศึกษา (หลักสูตรสำหรับเจ้าหน้าที่เทคโนโลยีสารสนเทศ) ได้รับความรู้เกี่ยวกับการจัดการศึกษา สำหรับคนพิการ และอุปกรณ์เทคโนโลยีต่างๆที่จำช่วยอำนวยความสะดวกสำหรับนักศึกษาพิการที่ศึกษาในระดับอุดมศึกษา สามารถนำความรู้ที่ได้มาประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาการจัดการทางด้านไอทีเพื่อบริการนักศึกษาหรือผุ้ใช้บริการที่มีความบกพร่องทางร่างกายภายในสำนักวิทยบริการได้  
โครงการศึกษาดูงานระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (MIS) และการจัดกิจกรรมของห้องสมุด      
การดำเนินกิจกรรมบนระบบเครือข่ายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา ครั้งที่ 32 (WUNCA 32 nd) เข้าเรียนรู้ Work Shop หัวข้อ ALIST Change to Web Base เพื่อที่จะนำมาใช้งานระบบ ALIST ในปัจจุบันได้ ได้เรียนรู้วิธีการใช้ระบบ ALIST ในรูปแบบ Web Base ที่กำลังอยู่ในขั้นตอนการพัฒนาเพื่อมาปรับใช้กับระบบ ALIST ในปัจจุบันที่ยังเป็น Window Base อยู่  
โครงการ “การจัดการความรู้ เรื่อง การทำคู่มือปฏิบัติงานและงานวิจัย” มีการให้รู้รูปแบบการจัดทำคู่มือการปฏิบัติ และความสำคัญในการจัดทำคู่มือการปฏิบัติงา ได้เรียนรู้รูปแบบการจัดทำคู่มือการปฏิบัติ และความสำคัญในการจัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน  
โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ ทบทวนแผนฯ และผลการดำเนินงาน  เมื่อวันที่ 28-30 สิงหาคม 2558 ผู้บริหารและบุคลากรสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการ การทบทวนแผน ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2558 และการจัดทำแผนการดำเนินงานประจำปี 2559 รวมถึงกิจกรรมนำสู่ Happy Workplace ณ ห้องประชุมซองกาเลีย รีสออร์ท อ.สังขละบุรี จ.กาญจนบุรี    
ประชุมและฝึกอบรม เรื่อง แนวทางปฏิบัติในการลงรายการเพื่อเป็นมาตรฐานในการดำเนินงานระบบฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม และการใช้งานโปรแกรม UC Connexion Client ได้มีการประชุมเพื่อหาแนวทางปฏิบัติในการลงรายการเพื่อเป็นมาตรฐานในการดำเนินงานระบบฐานข้อมูลสหบรรณานุกรรม (UCTAL) และอบรมการใช้งานโปรแกรม UC Connexion Client เพื่อทำการตรวจสอบข้อมูลและนำเข้าข้อมูลสู่ Server UC (Union Catalog) รับทราบถึงการกำหนด กฎเกณฑ์การลงรายการบรรณานุกรมให้เป็นมาตรฐานเดียวกันและการใช้งานโปรแกรม UC Connexion Client เพื่อใช้ในการตรวจสอบการลงรายการบรรณานุกรมของห้องสมุดเพื่อให้มีความถูกต้องตามกฎเกณฑ์ที่ได้ตกลงตอนร่วมประชุม และใช้โปรแกรมเพื่อ upload ข้อมูลขึ้นสู่ server UC ควรมีการดำเนินการตามที่ประชุมและอบรมคือ 1. เจ้าหน้าที่บรรณารักษ์ต้องมีการประชุมเพื่อกำหนดการลงรายการให้ตรงตามมาตรฐาน MARC21 และใช้โปรแกรม UC Connexion Client เพื่อตรวจสอบการลงรายการ 2. เจ้าหน้าที่ผู้ดูแลระบบต้องตรวจสอบการทำงานของโปรแกรม UC Connexion Client ให้สามารถเชื่อมต่อกับ Server UC ได้31/01/2558
ศึกษาดูงานการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ ณ ศูนย์บริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยพะเยา จังหวัดพะเยา      
การจัดการและติดตั้งระบบวีดีโอออนดีมานด์      
Multimedia Streaming Server      
การพัฒนาความรู้ด้านโอเพ่นซอร์สและฟรีแวร์      
การบริหารและการจัดการเครื่อข่ายอินเทอร์เน็ต ด้วยระบบปฎิบัติการ FreeBSD      
Implementing, Managing and Maintaining Windows Server 2003 Network