กลับไป
   
ข้อมูลส่วนตัว
ชื่อ - สกุล :  นางสาวกัญญา สิงหบุตร
ประเภทบุคลากร :  พนักงานมหาวิทยาลัย
สังกัด/หน่วยงาน :  ศูนย์วิทยบริการ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
ตำแหน่งงาน :  บรรณารักษ์
สถานะ :  ทำงานปกติ

  ประวัติการบริหาร  
ไม่มีข้อมูล
     
  ประวัติการศึกษา  
ระดับปีที่สำเร็จวุฒิการศึกษาหลักสูตรสาขาวิชาสถาบันประเทศ
ปริญญาตรี2551ศิลปศาสตร์บัณฑิตศศ.บ. (สารสนเทศศาสตร์)สารสนเทศศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาสารคามThailand
   
ผลงานทางวิชาการ

ไม่พบข้อมูลผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง


ผลงานวิจัยเชิงโครงการ

ไม่มีข้อมูล

     
  รายงานการฝึกอบรม/ดูงาน  
หัวข้อปัญหา/อุปสรรคสรุปผลไฟล์แนบผลที่ได้รับข้อเสนอแนะวันที่รายงาน
e-Library PSRU : Care the Bear 2020 กิจกรรมสร้างสรรค์สิ่งแวดล้อม      
การป้องกันและระงับอัคคีภัย การอพยพหนีไฟ      
การพัฒนาข้าราชการและบุคลากรสายสนับสนุนเพื่อเลื่อนตำแหน่งชำนาญการและระดับอื่นๆ      
การพัฒนาระบบจัดเก็บเอกสารฉบับเต็มในรูปอิเล็กทรอนิกส์ ฐานข้อมูล ThaiLis เพื่อประโยชน์ในการใช้ทรัพยากรและพัฒนาฐานข้อมูลร่วมกัน รวมถึงการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารต่างๆ ซึ่งเป็นการประหยัด และก่อให้เกิดความเป็นเอกภาพของห้องสมุดอุดมศึกษา ก่อให้เกิดรากฐานสำคัญในการพัฒนาองค์ความรู้เพื่อเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ในภูมิภาคเอเซียอาคเนย์ โดยนำระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่มาสนับสนุนและพัฒนาให้เป็นระบบเครือข่ายห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ 1. เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถบริหารการจัดการ และใช้ระบบสำหรับจัดเก็บเอกสารฉบับเต็มในรูปอิเล็กทรอนิกส์ 2. เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานมีความรู้ความเข้าใจถึงมาตรฐานการจัดเก็บเอกสารตามโครงการ 3. เพื่อเป็นการสร้างความเข้าใจในการลงรายการและการใช้งานโปรแกรม TDC ของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 4. เพื่อเป็นการพัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในการจัดทำเอกสารฉบับเต็มในรูปอิเล็กทรอนิกส์ 09/09/2562
การเขียนผลงานวิชาการ การจัดอบรมในครั้งนี้เป็นการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในหลักการและรูปแบบการเขียนผลงานทางวิชาการที่ถูกต้อง และฝึกปฏิบัติการเขียนผลงานทางวิชาการสำหรับเลื่อนตำแหน่งของบุคลากรกรภายใน และบุคลากรจากหน่วยงานอื่นที่เข้าร่วม    
การพัฒนาระบบจัดเก็บเอกสารฉบับเต็มในรูปอิเล็กทรอนิกส์ ฐานข้อมูล ThaiLis เพื่อประโยชน์ในการใช้ทรัพยากรและพัฒนาฐานข้อมูลร่วมกัน รวมถึงการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารต่างๆ ซึ่งเป็นการประหยัด และก่อให้เกิดความเป็นเอกภาพของห้องสมุดอุดมศึกษา ก่อให้เกิดรากฐานสำคัญในการพัฒนาองค์ความรู้เพื่อเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ในภูมิภาคเอเซียอาคเนย์ โดยนำระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่มาสนับสนุนและพัฒนาให้เป็นระบบเครือข่ายห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ 1. เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถบริหารการจัดการ และใช้ระบบสำหรับจัดเก็บเอกสารฉบับเต็มในรูปอิเล็กทรอนิกส์ 2. เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานมีความรู้ความเข้าใจถึงมาตรฐานการจัดเก็บเอกสารตามโครงการ 3. เพื่อเป็นการสร้างความเข้าใจในการลงรายการและการใช้งานโปรแกรม TDC ของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 4. เพื่อเป็นการพัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในการจัดทำเอกสารฉบับเต็มในรูปอิเล็กทรอนิกส์ 09/09/2562
การส่งเสริมพัฒนาจรรยาบรรณอาจารย์และบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ "ซื่อสัตย์ โปร่งใส ห่างไกลคอรัปชั่น" บรรยายการเบิกจ่าย - ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน -ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ -ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมและศึกษาดูงานเพื่อเสริมประสบการณ์นักศึกษา -ประชาวิจารย์ การแก้ไขระเบียบว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกองทุนสวัสดิการ    
การดำเนินกิจกรรมบนระบบเครือข่ายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา" การประชุมเชิงปฏิบัติการ "การดำเนินกิจกรรมบนระบบเครือข่ายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา" ครั้งที่ 36 ณ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม และในการประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งนี้ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ได้ขึ้นรับโล่เป็นเจ้าภาพการจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการ "การดำเนินกิจกรรมบนระบบเครือข่ายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา" ครั้งที่ 37 ในครั้งนี้ด้วย - เพื่อกำหนดแนวทางในการดำเนินกิจกรรมบนเครือข่ายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา (UniNet) - เพื่อศึกษาวิจัย การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศบนเครือข่ายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา - เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและระบบเครือข่ายระหว่างกลุ่มสมาชิก - เพื่อให้ผู้เชี่ยวชาญด้านต่างประเทศถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์และความเชี่ยวชาญในด้านเทคโนโลยีเครือข่าย Hardware and Software - ผู้เข้าร่วมสัมมนามีความรู้ความเข้าใจทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและเครือข่ายและมีการแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ซึ่งกันและกัน - ได้รับการถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์และความเชี่ยวชาญในด้านเทคโนโลยีเครือข่าย Hardware and Software จากผู้เชี่ยวชาญจากต่างประเทศ - สามารถกำหนดแนวทางในการดำเนินกิจกรรมของสมาชิกบนเครือข่ายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการ  
เรื่อง "การเขียนหนังสือราชการ" ให้แก่บุคลากรภายในสำนักวิทยบริการฯ -ในยุคของการปฏิรูประบบราชการ และการปรับเปลี่ยนองค์กรต่าง ๆ การเขียนหนังสือเพื่อสื่อ. ความหมายให้เข้าใจตรงกันเป็นสิ่งสําคัญยิ่ง เพราะจะช่วยให้ประหยัดเวลา และปฏิบัติงานได้ตรง. จุดประสงค์ การเขียนหนังสือโต้ตอบมิได้มีความหมายเพียงตัวหนังสือ และเอกสารเท่านั้น หากยังบ่ง. บอกถึงประสิทธิภาพในการทํางานของบุคลากร และองค์กรนั้น ๆ ด้วย -ตัวอย่างหนังสือราชการ 1. หนังสือภายนอก ตัวอย่างการขอเรียนเชิญผู้ว่าราชการฯ เป็นประธานเปิดสัมมนา ตัวอย่างการขอบคุณวิทยากร ตัวอย่างการขอบคุณวิทยากร    
การจัดการห้องสมุดในศตวรรษที่ 21 (Library Management in 21st Century Skill) ได้มีการจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดการห้องสมุดในศตวรรษที่ 21 (Library Management in 21st Century Skill)หลักสูตร การใช้งานระบบโปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติOpenBiblio    
มาตรฐานการปกป้องอาสาสมัครในงานวิจัย แนวทางจริยธรรมของการศึกษาวิจัยและการทดลองในคน” หมายความถึง ... 1) เพื่อปกป้องศักดิ์ศรี สิทธิ สวัสดิภาพ ส่งเสริมความเป็นอยู่ที่ดีของอาสาสมัครในงานวิจัย เพื่อยังประโยชน์แก่ชุมชนและมวลมนุษยชาติ ..... 2ในการทำวิจัยให้ได้มาตรฐานสากล กระบวนการให้ข้อมูลแก่อาสาสมัคร และการเชิญชวน    
การดำเนินงานระบบจัดเก็บเอกสารฉบับเต็มในรูปอิเล็กทรอนิกส์ ตามโครงการพัฒนาเครือข่ายห้องสมุดในประเทศไทย (ThaiLIS) จากความร่วมมือของห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาที่ได้ร่วมกันดำเนินโครงการพัฒนาเครือข่ายห้องสมุดในประเทศไทย (ThaiLIS) โดยร่วมกันจัดเก็บเอกสารฉบับเต็มในรูปอิเล็กทรอนิกส์ (Thai Digital Collection) ของวิทยานิพนธ์ งานวิจัย บทความวิชาการ หนังสือหายาก เข้าสู่ฐานข้อมูลกลางเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ซึ่งถือเป็นคลังข้อมูลทางวิชาการที่มีขนาดใหญ่ที่สุดแหล่งหนึ่ง โดยที่ปัจจุบันฐานข้อมูลได้ถูกพัฒนาและจัดเก็บเอกสารฉบับเต็มมากกว่า 370,000 เล่ม จากหน่วยงานความร่วมมือจำนวน 168 แห่ง และยังได้รับความสนใจจากสมาชิกที่เป็นสถาบันการศึกษาและหน่วยงานราชการที่ดำเนินงานวิจัยในด้านต่างๆ อย่างต่อเนื่อง และเพื่อให้สมาชิกทั้งใหม่และเก่าสามารถใช้งานระบบและนำเข้าข้อมูลได้อย่างต่อเนื่อง UniNet จึงได้จัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ    
การฝึกอบรมฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เพื่อการสืบค้น การอบรมเชิงปฎิบัติการ การสืบค้นฐานข้อมูลวิชาการออนไลน์ EBSCO การอบรมในครั้งนี้ได้เน้นในฐานข้อมูลที่เปิดให้ทดลองใช้ในฐานEBSCO ซึ่งหากเข้าผ่านทางหน้าจอหอสมุดฯจะให้บริการอยู่ในฐานข้อมูลออนไลน์ สามารถมาปรับกับการใช้งานในส่วนการบริการสืบค้น และจัดอบรมโครงการสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์ ซึ้งทำให้มีความเข้าใจและเข้าใช้งานได้ดีมากยิ่งขึ้น  
การประชุม WUNCA หรือ ประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การดำเนินกิจกรรมบนระบบเครือข่ายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา ครั้งที่ 32 เริ่มต้นวันที่ 2 ของงาน WUNCA กลุ่มห้องสมุด ซึ่งท่าน รศ.ดร.อมร เพชรสม ได้ให้แนวคิดและเล่าถึงประสบการณ์ในการปรับเปลี่ยนวิธีการบริหารจัดการวิทยานิพนธ์และระบบตรวจสอบการลักลอกทางวรรณกรรม และวันนี้ได้มีโอกาสร่วมมือกับสกอ. โดยดำเนินโครงการร่วมกับ UniNet เพื่อขยายผลส่งต่อคลังความรู้ไปสมาชิก ThaiLIS โดยอาจารย์ได้บรรยายในหัวข้อ"มาตรฐานการจัดทำและบริหารจัดการวิทยานิพนธ์เพื่อพัฒนาคลังความรู้สถาบันอุดมศึกษา" ต่อเนื่องกันยังได้ให้ทีมลงรายละเอียดในมุมเฉพาะของระบบอักขราวิสุทธิ์ โดยคุณไพโรจน์ ลีลาพัทรกิจ และiThesis โดยคุณธีรยุทธิ์ โกสินทร์    
โครงการ การจัดความรู้ เรื่อง การทำคู่มือปฏิบัติงานและงานวิจัยในการทำงานของบุคลากรสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ   ผู้ปฏิบัติงาน - ได้รับทราบภาระหน้าที่ของตนเองชัดเจนยิ่งขึ้น - ได้เรียนรู้งานเร็วขึ้นทั้งตอนที่เข้ามาทำงานใหม่ / หรือตอนที่จะย้ายงานใหม่ - มีขั้นตอนในการทำงานที่แน่นอน ทำให้การทำงานได้ง่ายขึ้น - รู้จักวางแผนการทำงานเพื่อให้ผลงานออกมาตามเป้าหมาย - สามารถใช้เป็นแนวทางเพื่อการวิเคราะห์งานให้ทันสมัยอยู่ตลอดเวลา - สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพราะมีสิ่งที่อ้างอิง - สร้างความเป็นมืออาชีพในการปฏิบัติงาน   
โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ ทบทวนแผนฯ และผลการดำเนินงาน เมื่อวันที่ 28-30 สิงหาคม 2558 ผู้บริหารและบุคลากรสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการ การทบทวนแผน ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2558 และการจัดทำแผนการดำเนินงานประจำปี 2559 รวมถึงกิจกรรมนำสู่ Happy Workplace ณ ห้องประชุมซองกาเลีย รีสอร์ท อ.สังขละบุรี จ.กาญจนบุรี    
ประชุมเชิงปฏิบัติการ โครงการ TDC (สัญจร) วันที่ 21 สิงหาคม 2558 แผนพัฒนาฐานข้อมูล TDC ปี 2558 -ปรับปรุงโปรแกรมสืบค้นฐานข้อมูล TDC เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเข้าถึงและสืบค้นข้อมูล -ดำเนินโครงการเชื่อมโยงฐานข้อมูล TDC กับระบบอักขราวิสุทธิ์ ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อป้องปรามและตรวจสอบการลักลอกทางวรรณกรรม -ดำเนินโครงการพัฒนาระบบสนับสนุนการทำวิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์ (e-Thesis Support System : eTSS) ประเด็นความร่วมมือ - รายงานสถานะการดำเนินงานโครงการจัดเก็บเอกสารฉบับเต็มในรูปอิเล็กทรอนิกส์ (Thai Digital Collection) - รายงานสถิติการใช้งานของสถาบันอุดมศึกษา - ติดตามความก้าวหน้าผลการดำเนินงานจัดทำเอกสารฯ ประจำปีงบประมาณ 2558 - ระบบให้บริการและจัดทำรายการฐานข้อมูล TDC - ทบทวนความถูกต้องการจัดทำรายการข้อมูลในระบบ TDC - นำเสนอแผนพัฒนาโครงการฯ - รับฟังข้อเสนอแนะ ความต้องการ และอุปสรรคปัญหา    
เข้าร่วมการฝึกอบรมการใช้ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เพื่อการสืบค้น โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุดในประเทศ (ThaiLIS)  ตามที่สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาได้ดำเนินการจ้างให้ EBSCO International, และ EMERALD Group Publishing Limited ให้บริการฐานข้อมูลอิเล้กทรอนิกส์เพื่อสืบค้น รวมจำนวน 6 ฐานข้อมูล ประกอบ ด้วย 1. ฐาน Academic Search Complete 2. ฐาน Computer & Applied Science Complete 3. ฐาน EBSCO Discovery Service Plus Full Text 4. ฐาน Education Research Complete 5. ฐาน H.W. Wilson (12 Subjects) 6. ฐาน Emerald Management (EM92) เพื่อให้บริการกับนักศึกษา คณาจารย์ นักวิจัยและบุคลากรในหน่วยงานของท่าน    
การอบรมฝึกการใช้งานโปรแกรมฝึกภาษา Access English ของสํานักพิมพ์ Knowledge Transmission และฐานข้อมูลมัลติมีเดียของสํานักพิมพ์ Binumi  ฝึกภาษา Access English ของสำนักพิมพ์ Knowledge Transmission การอบรมในครั้งนี้เป็นการอบรมฝึกการใช้งานโปรแกรมฝึกภาษา Access English ของสํานักพิมพ์ Knowledge Transmission และฐานข้อมูลมัลติมีเดียของสํานักพิมพ์ Binumi ซึ่งเป็นฐานข้อมูลทดลองใช้ ตามที่บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จํากัด ได้เปิดการทดลองใช้งานให้?กับมหาวิทยาลัย/สถาบันทั้ง 78 แห่ง ภายใต้สํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา โดยได้รับฟังการบรรยายตัวแทนบริษัท โปรแกรมฝึกภาษา Access English และ Binumi สรุปได้ดังนี้ โปรแกรมฝึกภาษา Access English (ทดลองใช้) สามารถใช้งานผ่าน http://accessenglishnow.com โดยตอนนี้เป็นฐานข้อมูลทดลองใช้สามารถขอรหัสผ่านเพื่อเขา ใช้งานได้ที่ห้องสมุดแต่ละแห่ง และแนะนําให้ใช้งานผ่านเบราเซอร์ Google Chrome เพราะหากไม่ใช้ Google Chrome บางปุ่มอาจจะหายไปจากโปรแกรมได้Access English ทําหน้าที่เหมือน self-study สามารถศึกษาเรียนรู้ภาษาอังกฤษ ได้ด้วยตนเอง ทั้งโปรแกรมจะใช้เวลาฝึกประมาณ 600 ชั่วโมง ประโยชน์ของ Access English 1.Access for every student on campus : เหมาะสําหรับนิสิต, นักศึกษาทุกคนในมหาวิทยาลัย 2.Complete General English course : เป็หลักสูตรภาษาอังกฤษที่ครอบคลุมทั้ง การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน 3.Available on any device : สามารถใช้งานได้บนหลากหลายอุปกรณ์ทั้งเครื่องคอมพิวเตอร์?สมาร์ทโฟน และแท็บเลต 4.Offine and online : สามารถใช้งานได้ในรูปแบบของออนไลน์และออฟไลน์ 5.Powered by social learning : สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ร่วมมกันได้ เนื่องจากตัวโปรแกรมสามารถจัดกรุ๊ปเพื่อเข้าร่วม ทําแบบทดสอบชุดเดียวกัน และสามารถ Review ผลงานการทําแบบทดสอบของเพื่อนได้ ฐานข้อมูลมัลติมีเดีย Binumi ฐานข้อมูลมัลติมีเดีย Binumi (ปัจจุบันสํานักหอสมุดกลางบอกรับเป็นสมาชิกแล้ว) สามารถใช้งานผ่าน http://www.binumi.com บินยูมิ คือ เครื่องมือสร้างวิดีโอแบบออนไลน์ด้วยตัวคุณเอง เป็นแหล่ง รวบรวมคลิปวิดีโอ, ภาพ, เพลง และ เครื่องมือตัดต่อที่ใช้งานง่าย สามารถสร้างสื่อการสอน การนําเสนอ ในรูปแบบของ วิดีโอที่น่าสนใจได้ ประโยชน์ของ Binumi 1. . มีคลังภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว คอมพิวเตอร์ และไฟล์?เสียง/เพลงเพื่อให้เลือกใช้?งานสําหรับการสร้างสื่อมัลติมีเดียจำนวนมาก โปรแกรมฝึกภาษา Access English คือโปรแกรมสําหรับฝึกภาษาอังกฤษด้วยตนเอง เหมาะอย่างยิ่งสําหรับอาจารย์ นิสิต และบุคคลทั่วไปที่สนใจ ตัวโปรแกรมมีแบบทดสอบที่มีเนื้อหาครอบคลุม และมีการแบ่งระดับเพื่อให้เหมาะกับ ผู้ใช้งานที่มีพื้นฐานทางภาษาอังกฤษที่ต่างกัน และยังสามารถสร้างกรุ๊ปเพื่อเรียนรรู้ร่วมกันอีกด้วย Binumi คือฐานข้อมูลสําหรับสร้างสื่อมัลติมีเดียในรูปแบบของวิดีโอ เหมาะสําหรับอาจารย์ นิสิต และบุคคลทั่วไป สามารถใช้สร้างสื่อประกอบการเรียนการสอน หรือสื่อนําเสนอได้อย่างง่ายด้วยตัวเราเอง ประโยชน์ที่ได้รับ ได้ความรู้เกี่ยวกับการใช้งานโปรแกรมฝึกภาษา Access English และ Binumi ซึ่งสามารถนํามาแนะนำ ผู้ใช้บริการต่อไปได้  17/09/2558
โครงการพัฒนาระบบเครือข่ายห้องสมุดในประเทศไทย (thailis) โครงการพัฒนาระบบเครือข่ายห้องสมุดในประเทศไทย จัดทำขึ้นหลังจากที่เครือข่าย thailis สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ได้ให้บริการระบบจัดการสื่ออิเล็กทรอนิกส์มาเป็นเวลา 8 ปี ซึ่งมีประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง Metadata สำหรับการสร้างฐานข้อมูลเพื่อจัดเก็บเอกสารฉบับเต็มในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ที่จัดขึ้นเพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานของห้องสมุด สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ มหาวิทยาลัยราชภัฎ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล มีความเข้าใจ Metadata ที่ใช้ในการลงชื่อรายการสื่ออิเล็กทรอนิกส์และสามารถนำไปใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างมรประสิทธิภาพภายใต้มาตรฐานเดียวกัน ผู้ที่เข้าร่วมประชุมเข้าใจการลงรายการ metadata สำหรับสื่ออิเล็กทรอนิกส์และสามารถนำไปใช้ในการปฎิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 23/03/2558
การฝึกอบรมฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เพื่อการสืบค้น สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นหน่วยงานหนึ่ง ที่เล็งเห็นความสําคัญในเรื่องการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศประเภทฐานอิเล็กทรอนิกส์สําหรับให้บริการ แก่คณาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา โดยได้มีการดําเนินการจัดหาฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์อย่างต่อเนื่อง และสอดคล้องกับสาขาวิชาที่มหาวิทยาลัยฯเปิดการเรียนการสอน เพื่ออํานวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้บริการ ซึ่งปัจจุบันสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มีฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์สําหรับให้บริการ โดยเป็นฐานข้อมูลที่ทางสํานักวิทยบริการฯจัดซื้อและฐานข้อมูลที่ทางสํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) กระทรวงศึกษาธิการได้ดําเนินการจัดซื้อ เพื่อให้บริการแก่ห้องสมุด สถาบันอุดมศึกษาทุกแห่ง นอกจากนี้ยังได้มีการส่งเสริมให้มีการใช้บริการฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เช่นกัน โดยมีการฝึกอบรมการใช้งานฐานข้อมูลอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ผู้ใช้บริการสามารถเข้าใช้งานฐานข้อมูลต่าง ๆ ได้ อย่างถูกต้อง มีประสิทธิภาพ และตรงกับความต้องการของผู้ใช้บริการ    
โครงการอบรมการทำผลงานเพื่อเข้าสู่ตำแหน่งสำหรับบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ      
โครงการป้องการโรคจากการทำงาน "Office Syndrome"   ออฟฟิศซินโดรม (Office Syndrome) คืออาการป่วยที่มักพบบ่อยที่ผู้ที่ทำงานในออฟฟิศเป็นประจำ ได้แก่ อาการปวดหลัง ปวดใหล่และคอ ปวดหัวเรื้อรังหรือไมเกรน อาการนอนไม่หลับเรื้อรัง โรคเครียด อาการเหล่านี้เชื่อมโยงกับความเครียด ซึ่งหากปล่อยให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง จะส่งผลเสียต่อสุขภาพโดยรวมอย่างน่าเป็นกังวล เช่นหากอาการปวดคอเป็นไปอย่างต่อเนื่องอาจทำให้ศีรษะได้รับเลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ ในระยะยาวจะส่งผลให้ความจำเริ่มถดถอยหรือความคิดความอ่านช้าลง โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคเครียด หรือโรคนอนไม่หลับเรื้อรัง อาจทำให้ต้องรับประทานยาเป็นประจำ ส่งผลต่อระบบภายใน ผิวพรรณไม่สดใส ร่างกายไม่สามารถผลิต Growth Hormone ได้อย่างที่ควร ทำให้ดูแก่ก่อนวัย อีกทั้งโรคร้ายต่างๆอีกมากมายถึงตอนนี้บางท่านอาจมีคำถามว่าแล้วต้องเปลี่ยนแปลงอย่างไร บางตำราบอกว่าให้จัดสถานที่ทำงานใหม่ให้เหมาะสม ปรับอิริยาบถที่ถูกต้อง จัดโต๊ะทำงานให้เป็นระเบียบ เปลี่ยนเก้าอี้ ซื้อที่รองคีบอร์ด ฯลฯ ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งช่วยเสริมให้ลดเหตุภายนอกที่ทำให้เกิดออฟฟิศซินโดรม  
เข้าร่วมประชุมเพื่อหาแนวทางการพัฒนาฐานข้อมูล ASEAN Citation Index(ACI)  การประชุมเพื่อหาแนวทางการพัฒนาฐานข้อมูล Asen Citation Index (ACI) เพื่อผลักดันให้ผลงานวิจัยของสถาบันอุดมศึกษาในอาเซียนมีการเผยแพร่และเป็นที่ยอมรับฝนระดับสากล และเป็นกลไกผลักกันให้เกิดการพัฒนาคุณภาพของผลงานวิชาการผ่านการพัฒนาคุณภาพวารสารภายในประเทศ ทำให้เกิดความเชื่อมโยงข้อมูลจากฐานข้อมูลบทความและการอ้างอิงจากวารสารระดับประเทศเข้ากับฐานข้อมูล ACI ให้สามารถสืบค้นข้อมูลการตีพิมพ์และข้อมูลการอ้างอิงร่วมกัน การพัฒนาฐานข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI) ผลจากการจัดทำฐานข้อมูล TCI ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสังคมและวงการวิชาการของประเทศหลายประการ อาทิเช่น การประเมินคุณภาพผลงานวิจัย การจัดสรรทุนสนับสนุนการวิจัยโดยใช้เกณฑ์คุณภาพวารสาร การสำเร็จการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา และการวางแผนและการกำหนดนโยบายระดับชาติที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพวารสารและการเผยแพร่ผลงานวิชาการของไทย ดังนั้น สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประเทศไทย และ ASEAN University Network จึงมีความเห็นที่จะพัฒนาฐานข้อมูลดัชนีการอ้างอิงวารสารในระดับประเทศเช่นเดียวกับ TCI แต่ขยายการดำเนินงานไปสู่ประเทศต่างๆ ในภูมิภาคอาเซียน เพื่อสอดรับกับนโยบายประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community, AEC) โดย สกอ. ให้การสนับสนุนศูนย์ TCI ให้เป็นศูนย์กลางในการส่งเสริมและสนับสนุนให้ประเทศสมาชิกอาเซียน ดำเนินการจัดตั้งฐานข้อมูลบทความและการอ้างอิงจากวารสารระดับประเทศ (National Citation Index, NCI) ของตนเองขึ้น เพื่อใช้เป็นกลไกหนึ่งในการผลักดันให้เกิดการพัฒนาคุณภาพผลงานทางวิชาการผ่านการพัฒนาคุณภาพวารสารภายในประเทศ จากนั้นจึงทำการเชื่อมโยงข้อมูล 06/11/2557
ประชุมเชิงปฏิบัติการ ปรับปรุงแผนยุทธศาสตร์      
อบรม ISO       
ทดลองอ่าน E-Magazines เครืออมรินทร์ 12 ฉบับ ด้วยบริษัท อมรินทร์ บุ๊ค เซ็นเตอร์ จำกัด บริษัทผู้จัดจำหน่ายสิ่งพิมพ์ในเครืออมรินทร์ฯ และสำนักพิมพ์ชั้นนำกว่า 200 สำนักพิมพ์ทั่วประเทศ ผู้ดำเนินธุรกิจร้านหนังสือในชื่อ นายอินทร์ และร้านหนังสือดิจิตอลในชื่อ Naiinpann เชิญชวนห้องสมุดมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ เข้ารว่มโครงการ สัมผัสการอ่าน เรียนรู้ 12 ประสบการณ์สาระบันเทิง จาก E-Magazines เครืออมรินทร์ โดยห้องสมุดมหวิทยาลัย สถาบัน องคืกร หรือหน่วยงานที่มีความสนใจทดลองเทคโนโลยีการอ่าน E-Magazines ของเครือ อมรินทร์ ซึ่งเปิดใช้งานระบบ E-Library Shelf เพื่อให้สมาชิกและบุคลากรของห้องสมุดในหน่วยงานของ่ทานได้เรียนรู้และเข้าถึงเทคโนโลยีการอ่านนิตรสารในแบบอิเล็คทรอนิกส์ ที่ผสมผสานเนื้อหาและ สื่อมัลติมีเดียเข้าด้วยกัน เป็นความบันเทิงที่ครบถ้วนทั้งเนื้อหา ภาพและเสียง ที่รวดเร็ว ฉับไว อ่านได้ทุกที่ทุกเวลา สอดรับกับเทคโนโลยี และไลฟ์สไตล์ของนักอ่านรุ่นใหม่ได้อย่างมีรสนิยม    
อบรม ISO       
อบรมหลักสูตร การนำ ICT มาประยุกต์ใช้กับงาน KM       
การลงรายการบรรณานุกรมในรูปแบบ AACR2/MARC21 และติดตั้งใช้งานโปรแกรม MARC Analyzer เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของรายการบรรณานุกรม องค์ความรู้ที่ได้รับจากการเข้าร่วมงาน 1. ความเป็นมาของโครงการพัฒนาโปรแกรมบริหารจัดการฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม โครงการพัฒนาโปรแกรมบริหารจัดการฐานข้อมูลสหบรรณานุกรมเป็นความร่วมมือระหว่างสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และสำนักวิชาสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ โดยมีเป้าหมายเพื่อพัฒนาโปรแกรมที่สนับสนุนการดำเนินงานเกี่ยวกับเลขมาตรฐานสากลของหนังสือ (International Standard for Book Number) การจัดทำรายการสิ่งพิมพ์สำเร็จรูป (Catalog in Publication) การจัดการระเบียนบรรณานุกรม (Bibliographic Records) การควบคุมระเบียนรายการหลักฐาน (Authority Records) และการใช้รายการร่วมกัน (Share Cataloging) บนพื้นฐานของมาตรฐานสากลของการควบคุม 2. ได้รับความรู้เกี่ยวกับการใช้โปรแกรมตรวจสอบบรรณานุกรม MARC Analyzer รวมถึงหลักเกณฑ์มาตรฐานการลงรายการตามหลักสากล MARC 21 3. รายการบรรณานุกรม (Bibliographic Control) ซึ่งฐานข้อมูลสหบรรณานุกรมประกอบด้วย 1) ระเบียนบรรณานุกรมหนังสือ 2) ระเบียนบรรณานุกรมวารสารและรายการ Holding 3) ระเบียนบรรณานุกรมควบคุมรายการหลักฐาน (Authority Control) 4. โปรแกรมบริหารจัดการฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม โปรแกรม MARC Analyzer 5. การใช้โปรแกรม MARC Analyzer - ใช้สำหรับการตรวจสอบข้อมูลก่อนนำเข้าฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม - ตรวจสอบความถูกต้องในการลงรายการของระเบียน - ตรวจสอบความซ้ำซ้อนใน File - แก้ไขระเบียนที่มีความผิดพลาด - นำข้อมูล MARC ที่แก้ไขออกเป็นไฟล์เพื่อนำไปใช้งาน และสามารถรายงานการตรวจสอบระเบียนได้ 6. ประโยชน์ของโปรแกรม MARC Analyzer 1) ช่วยทำให้ระเบียนบรรณานุกรมมีข้อมูลที่ถูกต้องมากขึ้น 2) ช่วยลดความซ้ำซ้อนของระเบียนบรรณานุกรม 3) ช่วยเป็นแนวทางแก้ไข และทำให้ทราบข้อผิดพลาดของข้อมูลระเบียนบรรณานุกรมได้ ทั้งนี้ในการบรรยาย วิทยากรแจ้งมาว่า ยังมีข้อตกลงในเครือข่ายห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา ก่อนการนำข้อมูลบรรณานุกรมเข้าฐานข้อมูลสหบรรณานุกรมของห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาไทยนั้น ให้ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาแต่ละแห่งหากมีการใช้โปรแกรมต่อไปให้ทำการ Analyzer โดยนำ File ออกมาก่อนแล้วจึงทำการ Analyze ก่อนทำการ Upload เข้าฐานข้อมูลสหบรรณานุกรมของห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาไทย เพื่อให้เกิดความถูกต้องและเป็นมาตรฐานของระเบียนบรรณานุกรมที่สมบูรณ์ต่อไป อีกทั้ง ข้อดีของโปรแกรมนี้ ย กรณีข้อมูลถูกต้อง เปิดให้สถาบันอุดมศึกษาและผู้สนใจ ใช้บริการสืบค้น ยืม-คืน หนังสือ ที่อยู่ในห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา ผ่านระบบฐานข้อมูลสหบรรณานุกรมและ สามารถนำความรู้ที่ได้มาใช้ในการปฏิบัติงานเทคนิคห้องสมุดในส่วนงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารนิเทศ  17/07/2557
เรื่อง การรับรองมาตรฐาน ISO ระบบการประมวลผลแบบคลาวด์และการบริหารจัดการสำนักงานในส่วนงานต่างๆ ของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี      
ศึกษาดูงานระบบการบริหารคุณภาพตามการบรองมาตรฐาน ISO 1. ทราบถึงกระบวนการวิเคระาห์ทรัพยากรสารสนเทศของ ม.ราชภัฎเพชรบุรี ที่มีความเป็นระเบียบสามารถค้นหาได้ง่าย เป็นการเปิดโลกทัศน์กระบวนการทำงานฝ่ายวิเคราะห์สารสนเทศของสถาบันเรากับสถาบันอื่น เพื่อเป็นข้อมูล แนวทางในการปรับปรุงกระบวนการทำงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศของสถาบันเราให้พัฒนายิ่งขึ้น 2. การจัดระบบบริหารงานฝ่ายวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศได้เป็นอย่างดี 3. การทำงานของฝ่ายวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศมีการจัดพื้นที่การทำงานของฝ่ายวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ เป็นสัดส่วน ระเบียบเรียบร้อย ทำให้การปฎิบัติงานเป็นไปอย่างราบรื่น สะดวก สบาย ต่อเจ้าหน้าที่ของกลุ่มงาน 1. สามารถนำความรู้และประสบการณ์ในการศึกษาดูงานด้านต่างๆ เพื่อนำมาปรับปรุงของฝ่ายงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. สามารถนำคามรู้ความสามารถประสบการณ์ที่ได้มาพัฒนาของฝ่ายงานและสามารถนำมาต่อยอดในการบริหารจัดการเกี่ยวกับการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศให้เป็นระบบระเบียบเพื่อเข้าสู่มาตรฐาน ISO 17/07/2557
การศึกษาดูงานการให้บริการสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบเครือข่าย การเลือกใช้สารสนเทศ และการสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์เพื่อการศึกษา ค้นคว้า วิจัย       
โครงการพัฒนาระบบสหบรรณานุกรม (Union catalog) สำหรับสถาบันอุดมศึกษา  จากการประชุมในวันที่ 21-22 เมษายน 2557 ซึ่งจะเกี่ยวกับการชี้แจงโครงการพัฒนาระบบสหบรรณานุกรม สำหรับสถาบันอุดมศึกษา ความรู้ที่ได้รับคือ การดำเนินการจัดการทำข้อตกลงการวิเคราะห์และนำเข้ารายการเพื่อลดภาระการปฎิบัติงานของผู้รับผิดชอบงานด้าน catalog จากการดำเนินงานทำให้เกิดความร่วมมือระหว่างห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาในการสร้างฐานข้อมูล สหบรรณานุกรมของประเทศ และยังทำให้เกิดการพัฒนาความร่วมมือ สามารถขยายผลได้ในภาพรวมอันจะนำไปสู่การแลกเปลี่ยนข้อมูลรายการสหบรรณานุกรมระหว่างผู้ปฎิบัติงานตลอดจนสามารถขยายสู่การยืมคืนระหว่างห้องสมุดได้อย่างมีประสิทธิภาพ    
อบรมภาษาอังกฤษเตรียมพร้อมสู่อาเซียน      
อบรม NSRU MIS      
การนำเสนอผลงาน การสัมมนา pulinet วิชาการ ครั้งที่ 4 เครื่องมือสำคัญของห้องสมุดยุค social network-การนำเสนอผลงาน การสัมมนา pulinet วิชาการ ครั้งที่ 4 เครื่องมือสำคัญของห้องสมุดยุค social network วันที่ 22-24 มกราคม พ.ศ. 2557 ณ ห้องสมุดเวนชั่น โรงแรมอัมรินลากูล อำเภอเมือง จ.พิษณุโลก ปัจจุบันเครือข่ายสังคมออนไลน์มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการใช้สารสนเทศของผู้ใช้บริการอย่างมาก และมีโปรแกรมสังคมออนไลน์ใหม่ๆพัฒนาเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โปรแกรมเหล่านี้ผลกระทบต่องานห้องสมุดอย่างไร ห้องสมุดจะใช้ประโยชน์จากสังคมออนไลน์ได้อย่างไรบ้าง และห้องสมุดควรปรับตัวให้ทันกับสภาพแวดล้อมเช่นนี้ได้อย่างไร มีหลักในการพิจารณาและคัดเลือกโปรแกรมอย่างไร เพื่อให้เหมาะสมกับงานห้องสมุด สามารถนำความรู้ที่่ได้มาพัฒนาปรับปรุงงานในศูนย์วิทยบริการให้มีมาตรฐานในการทำงานมากยิ่งขึ้น-17/07/2557
อบรมเชิงปฏิบัติการ: การพัฒนาห้องสมุดและทรัพยากร